เรียนพิเศษเขตบางกะปิ
 
คณิตศาสตร์      ฟิสิกส์       ภาษาอังกฤษ
แคลคูลัส
ความถนัดทางวิศวกรรมศาสตร์
O-Net    A-level    TGAT    TPAT    TPAT3    TCAS67
 

เปิดสอน   ระดับชั้นประถมศึกษา    มัธยมต้น    มัธยมปลาย
และระดับมหาวิทยาลัย

เพื่อการสอบเพิ่มเกรดประจำภาคเรียน
สอบเข้า ม.1     สอบเข้า ม.4
สอบ Admission     และสอบตรงเข้ามหาวิทยาลัย

"เน้นเรียนตัวต่อตัว    และกลุ่มย่อย 4 คน"

สำหรับนักเรียนที่มุ่งมั่นเข้าศึกษาต่อคณะวิศวกรรมศาสตร์ และคณะวิทยาศาสตร์
มหาวิทยาลัย TOP 10 ของประเทศ
 
สอนพิเศษตัวต่อตัว เรียนพิเศษตัวต่อตัว เรียนพิเศษกลุ่มย่อย สอนพิเศษกลุ่มย่อย วิชาคณิตศาสตร์ ฟิสิกส์ วิทยาศาสตร์ ภาษาอังกฤษ ความถนัดทางวิศวกรรม รับรองผล เรียนเพิ่มเกรด ติวเพิ่มเกรด  o-net  ติวสอบเข้า ม.1 ติวสอบเข้า ม.4  onsite เรียนออนไซต์  กวดวิชา ติว ครูคณิต กวดวิชา ติว ครูเลข ครูวิทย์ onsite ครูฟิสิกส์ ครูอังกฤษ กวดวิชา ติว  tutor วิทย์ ติวเตอร์ อาจารย์คณิต อาจารย์เลข อาจารย์วิทย์ อาจารย์ฟิสิกส์ อาจารย์อังกฤษ onsite เรียนออนไซต์ เรียนพิเศษใกล้ฉัน  เรียนพิเศษเลขกับติวเตอร์คนไหนดี? เรียนพิเศษคณิตศาสตร์กับติวเตอร์คนไหนดี? เรียนพิเศษฟิสิกส์กับติวเตอร์คนไหนดี? เรียนพิเศษวิทย์กับติวเตอร์คนไหนดี? วิทย์ เรียนพิเศษใกล้ฉัน เรียนพิเศษภาษาอังกฤษกับติวเตอร์คนไหนดี?  เรียนพิเศษที่ไหนดี? เรียนพิเศษคณิตศาสตร์ที่ไหนดี? เรียนพิเศษเลขที่ไหนดี? เรียนพิเศษวิทยาศาสตร์ที่ไหนดี? เรียนพิเศษฟิสิกส์ที่ไหนดี? เรียนพิเศษภาษาอังกฤษที่ไหนดี?  เรียนพิเศษวิทยาศาสตร์กับติวเตอร์คนไหนดี?  ติวเตอร์ tutor โรงเรียนกวดวิชา Quota โควตา TGAT TPAT Admission วิชาสามัญ GPAX GPA TPAT3 A-level คณิตศาสตร์ประยุกต์1 A-level คณิตศาสตร์ประยุกต์2  A-level วิทยาศาสตร์ประยุกต์ ติวเตอร์  A-level ฟิสิกส์ A-level ภาษาอังกฤษ  TGAT TPAT A-level Mathematics Physics Engineering Science TCAS dek66 dek67 dek68 TCAS66 TCAS67 TCAS68 pat1 pat2 pat3 gat ครูสอนพิเศษ อาจารย์สอนพิเศษ  ติวเตอร์ tutor  โรงเรียนกวดวิชา Quota โควตา TGAT TPAT Admission วิชาสามัญ GPAX GPA TPAT3 A-level คณิตศาสตร์ประยุกต์1 A-level คณิตศาสตร์ประยุกต์2  A-level วิทยาศาสตร์ประยุกต์
อยู่เขตบางกะปิเรียนพิเศษกับติวเตอร์คนไหนดี เรียนพิเศษคณิตศาสตร์เขตบางกะปิ เรียนพิเศษฟิสิกส์เขตบางกะปิ เรียนพิเศษภาษาอังกฤษเขตบางกะปิ หาติวเตอร์สอนคณิตศาสตร์เขตบางกะปิ หาติวเตอร์สอนฟิสิกส์เขตบางกะปิ  หาติวเตอร์สอนภาษาอังกฤษเขตบางกะปิ ครูสอนคณิตศาสตร์เขตบางกะปิ ครูสอนฟิสิกส์เขตบางกะปิ สอนพิเศษตัวต่อตัวเขตบางกะปิ เรียนพิเศษตัวต่อตัวเขตบางกะปิ  ติวสอบเข้ามหาวิทยาลัยเขตบางกะปิ เรียนวิทยาศาสตร์กับครูสอนวิทยาศาสตร์เขตบางกะปิ ครูเลขเขตบางกะปิ ครูวิทย์เขตบางกะปิ ติววิทยาศาสตร์เขตบางกะปิ ติววิทย์เขตบางกะปิ ติวคณิตเขตบางกะปิ ติวเลขเขตบางกะปิหาติวเตอร์สอนพิเศษเขตบางกะปิ  อยู่เขตบางกะปิ โรงเรียนกวดวิชาเขตบางกะปิ     โรงเรียนกวดวิชาเขตบางกะปิ สอนพิเศษคณิตศาสตร์เขตบางกะปิ สอนพิเศษวิทยาศาสตร์เขตบางกะปิ สอนพิเศษภาษาอังกฤษเขตบางกะปิ สอนพิเศษฟิสิกส์เขตบางกะปิ เรียนพิเศษคณิตศาสตร์บางกะปิ เรียนพิเศษวิทยาศาสตร์เขตบางกะปิ เรียนพิเศษภาษาอังกฤษเขตบางกะปิ เรียนพิเศษฟิสิกส์เขตบางกะปิ
 บางกะปิ เป็นหนึ่งในห้าสิบเขตของกรุงเทพมหานคร เป็นเขตที่อยู่อาศัยรองรับการขยายตัวของเมืองทางทิศตะวันออก (ตอนใต้) มีย่านที่สำคัญคือ ย่านบางกะปิ ที่ตั้งและอาณาเขต เขตบางกะปิตั้งอยู่ทางตอนกลางของฝั่งพระนคร มีอาณาเขตติดต่อกับพื้นที่การปกครองต่าง ๆ เรียงตามเข็มนาฬิกา ดังนี้ ทิศเหนือ ติดต่อกับเขตลาดพร้าวและเขตบึงกุ่ม มีถนนประดิษฐ์มนูธรรม คลองเกรียง คลองอ้ายหลาว คลองลำเจียก และคลองตาหนังเป็นเส้นแบ่งเขต ทิศตะวันออก ติดต่อกับเขตบึงกุ่มและเขตสะพานสูง มีคลองตาหนัง คลองลำพังพวย ถนนนวมินทร์ ถนนศรีบูรพา คลองแสนแสบ คลองบ้านม้า 2 คลองวังใหญ่บน คลองโคลัด และคลองบึงบ้านม้าเป็นเส้นแบ่งเขต ทิศใต้ ติดต่อกับเขตสวนหลวง มีลำรางแบ่งเขตสวนหลวงกับเขตบางกะปิ คลองหัวหมาก และคลองกะจะเป็นเส้นแบ่งเขต ทิศตะวันตก ติดต่อกับเขตห้วยขวางและเขตวังทองหลาง มีคลองแสนแสบ คลองจั่น ถนนลาดพร้าว ถนนลาดพร้าว 101 (วัดบึงทองหลาง) คลองลำพังพวย คลองจั่น และคลองทรงกระเทียมเป็นเส้นแบ่งเขต ที่มาของชื่อ ที่มาของชื่อ "บางกะปิ" นั้นมีข้อสันนิษฐานมากมาย ตั้งแต่คำว่า "กบิ" หรือ "กบี่" ที่หมายถึง ลิง เพราะพื้นที่แถบนี้ในอดีตเคยเป็นป่าทึบ มีลิงอาศัยอยู่เป็นจำนวนมาก (ซึ่งสัญลักษณ์ของเขตก็เป็นรูปหนุมานด้วย) หรือมาจาก "กะปิ" ซึ่งเป็นเครื่องปรุงอาหาร เพราะพื้นที่นี้แต่เดิมอุดมสมบูรณ์ด้วยกุ้งเล็ก ๆ มากมาย ประชาชนจึงนิยมนำมาทำกะปิกันมาก บ้างว่า มาจากชื่อหมวก "กะปิเยาะห์" ของชาวมุสลิม เนื่องจากพื้นที่นี้มีชาวมุสลิมอาศัยอยู่มาก ซึ่งการแต่งกายของชาวมุสลิมส่วนใหญ่จะสวมหมวกคลุมหัว ประวัติ พื้นที่บริเวณเขตบางกะปิในอดีตเป็นป่าทึบ ในสมัยพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัวได้เกิดกบฏที่เมืองนครจำปาศักดิ์และเมืองหลวงพระบาง จึงโปรดเกล้าฯ ให้เจ้าพระยาบดินทรเดชา (สิงห์ สิงหเสนี) เป็นแม่ทัพไปปราบจนสำเร็จ และได้กวาดต้อนผู้คนตามหัวเมืองรายทางมาตั้งถิ่นฐานบริเวณริมคลองแสนแสบและคลองกุ่ม เมื่อมีผู้คนอาศัยหนาแน่นมากขึ้น จึงได้รับการจัดตั้งเป็น อำเภอบางกะปิ ขึ้นอยู่กับจังหวัดพระนคร ซึ่งใน พ.ศ. 2509 ทางราชการได้แบ่งพื้นที่ตำบลบางกะปิและตำบลห้วยขวางไปจัดตั้งเป็นอำเภอพญาไท ในช่วง พ.ศ. 2514–2515 มีการเปลี่ยนแปลงลักษณะการปกครองภูมิภาคไปสู่การปกครองส่วนท้องถิ่นในจังหวัดพระนครและจังหวัดธนบุรี กล่าวคือ รวมจังหวัดทั้งสองเข้าด้วยกันเป็นนครหลวงกรุงเทพธนบุรีและเปลี่ยนเป็นกรุงเทพมหานคร แบ่งพื้นที่เป็นเขตและแขวงแทนอำเภอและตำบล อำเภอบางกะปิจึงเปลี่ยนฐานะเป็น เขตบางกะปิ แบ่งออกเป็น 9 แขวง (ต่อมาใน พ.ศ. 2521 ได้โอนแขวงสามเสนนอกไปขึ้นกับเขตห้วยขวาง) เนื่องจากมีอาณาเขตกว้างขวาง และต่อมามีประชากรเพิ่มขึ้น ท้องที่บางแห่งอยู่ไกลจากสำนักงานเขต เพื่อสะดวกแก่การปกครองและการอำนวยความสะดวกแก่ประชาชน กระทรวงมหาดไทยจึงแบ่งพื้นที่ทางทิศเหนือและทิศตะวันออกของเขตไปจัดตั้งเป็นเขตลาดพร้าวและเขตบึงกุ่มใน พ.ศ. 2532 และรวมพื้นที่แขวงวังทองหลางและบางส่วนของแขวงคลองจั่นไปจัดตั้งเป็นเขตวังทองหลางใน พ.ศ. 2540 
การคมนาคม เรือโดยสารคลองแสนแสบบริเวณท่าวัดเทพลีลา ทางสายหลัก ถนนลาดพร้าว ถนนรามคำแหง ถนนพระราม 9 ถนนนวมินทร์ ถนนศรีนครินทร์ ถนนเสรีไทย ซอยรามคำแหง 39 ทางพิเศษฉลองรัช ทางพิเศษศรีรัช ทางสายรองและทางลัด ถนนแฮปปี้แลนด์ ถนนกรุงเทพกรีฑา ถนนหัวหมาก ถนนโพธิ์แก้ว ถนนลาดพร้าว 101 (วัดบึงทองหลาง) ซอยรามคำแหง 21 (นวศรี) ซอยรามคำแหง 24 ทางราง รถไฟฟ้าสายสีเหลือง รถไฟฟ้าสายสีส้ม (กำลังก่อสร้าง) ทางน้ำ คลองแสนแสบ คลองลาดพร้าว สถานที่สำคัญ มหาวิทยาลัยรามคำแหง ราชมังคลากีฬาสถาน วัดเทพลีลา สถานศึกษา โรงเรียนเทพลีลา โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยรามคำแหง โรงเรียนบางกะปิ โรงเรียนบ้านบางกะปิ โรงเรียนมัธยมบ้านบางกะปิ มหาวิทยาลัยรามคำแหง มหาวิทยาลัยรัตนบัณฑิต มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ วิทยาลัยเทคโนโลยีบางกะปิ วิทยาลัยเทคโนโลยีช่างอุตสาหกรรมกรุงเทพ สนามกีฬา ราชมังคลากีฬาสถาน ศูนย์กีฬาหัวหมาก การกีฬาแห่งประเทศไทย ศาสนสถาน วัดจันทวงศาราม (วัดกลาง) วัดเทพลีลา วัดพระไกรสีห์ (วัดน้อย) วัดบึงทองหลาง วัดศรีบุญเรือ ศูนย์การค้า เดอะมอลล์บางกะปิ โลตัส (ห้างสรรพสินค้า) สาขาบางกะปิ บิ๊กซี สาขาหัวหมาก, สาขาสุขาภิบาล 3 สยามแม็คโคร สาขาลาดพร้าว, สาขารามคำแหง 24 น ๆ พิพิธภัณฑ์กีฬาแห่งชาติ การเคหะแห่งชาติ (ประเทศไทย)สวนพฤษกชาติ การเคหะแห่งชาติ ตลาดแฮปปี้แลนด์ โรงพยาบาลรามคำแหง คลองจั่น เป็นแขวงหนึ่งในพื้นที่เขตบางกะปิ กรุงเทพมหานคร เป็นที่ตั้งของสำนักงานเขตบางกะปิ


ที่ตั้งและอาณาเขต คลองจั่นเป็นพื้นที่ทางตะวันออกของกรุงเทพมหานคร และอยู่ทางตอนเหนือของเขตบางกะปิ มีอาณาเขตติดต่อกับแขวงอื่นเรียงตามเข็มนาฬิกาดังนี้ ทิศเหนือ ติดต่อกับแขวงนวมินทร์ (เขตบึงกุ่ม) มีคลองเกรียง คลองอ้ายหลาว และคลองลำเจียกเป็นเส้นแบ่งเขต ทิศตะวันออก ติดต่อกับแขวงนวมินทร์และแขวงคลองกุ่ม (เขตบึงกุ่ม) มีคลองตาหนัง คลองลำพังพวย ถนนนวมินทร์ และถนนศรีบูรพาเป็นเส้นแบ่งเขต ทิศใต้ ติดต่อกับแขวงหัวหมาก (เขตบางกะปิ) มีคลองแสนแสบเป็นเส้นแบ่งเขต ทิศตะวันตก ติดต่อกับแขวงพลับพลา แขวงคลองเจ้าคุณสิงห์ (เขตวังทองหลาง) และแขวงลาดพร้าว (เขตลาดพร้าว) มีคลองจั่น ถนนลาดพร้าว ถนนลาดพร้าว 101 คลองลำพังพวย คลองจั่น คลองทรงกระเทียม และถนนประดิษฐ์มนูธรรมเป็นเส้นแบ่งเขต สถานที่สำคัญ สำนักงานเขตบางกะปิ โรงพยาบาลเวชธานี การเคหะแห่งชาติ
สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ 
หัวหมาก เป็นแขวงหนึ่งในพื้นที่เขตบางกะปิ กรุงเทพมหานคร ที่ตั้งและอาณาเขต แขวงหัวหมากตั้งอยู่ทางตอนใต้ของเขตบางกะปิ มีอาณาเขตติดต่อกับแขวงอื่นเรียงตามเข็มนาฬิกาดังนี้ ทิศเหนือ ติดต่อกับแขวงพลับพลา (เขตวังทองหลาง) แขวงคลองจั่น (เขตบางกะปิ) และแขวงคลองกุ่ม (เขตบึงกุ่ม) มีคลองแสนแสบเป็นเส้นแบ่งเขต ทิศตะวันออก ติดต่อกับแขวงสะพานสูงและแขวงทับช้าง (เขตสะพานสูง) มีคลองบ้านม้า 2 คลองวังใหญ่บน คลองโคลัด และคลองบึงบ้านม้าเป็นเส้นแบ่งเขต ทิศใต้ ติดต่อกับแขวงพัฒนาการและแขวงสวนหลวง (เขตสวนหลวง) มีลำรางแบ่งเขตสวนหลวงกับเขตบางกะปิ คลองหัวหมาก และคลองกะจะเป็นเส้นแบ่งเขต ทิศตะวันตก ติดต่อกับแขวงบางกะปิ (เขตห้วยขวาง) มีคลองแสนแสบเป็นเส้นแบ่งเขต สถานที่สำคัญ มหาวิทยาลัยรามคำแหง โรงพยาบาลรามคำแหง
ศูนย์กีฬาหัวหมากราชมังคลากีฬาสถาน อินดอร์ สเตเดียม หัวหมาก 
ถนนรามคำแหง (อักษรโรมัน: Thanon Ramkhamhaeng) เป็นถนนสายหนึ่งในกรุงเทพมหานคร ฝั่งตะวันออก มีความยาวรวมทั้งหมดประมาณ 18 กิโลเมตร แบ่งออกเป็น 2 ช่วงคือ ช่วงจากสี่แยกคลองตันถึงแยกลำสาลี ช่วงจากแยกลำสาลีถึงแยกตัดกับถนนสุวินทวงศ์ ประวัติ ถนนรามคำแหงสันนิษฐานว่าสร้างต่อมาจากถนนสุขุมวิท 71 ในช่วงระหว่างปี พ.ศ. 2498–2505 ปรากฏในแผนที่ท้ายพระราชกฤษฎีกากำหนดเขตที่ดินในบริเวณที่ที่จะเวนคืน ในท้องที่ตำบลหัวหมาก อำเภอบางกะปิ จังหวัดพระนคร พ.ศ. 2506 ในระยะแรกมีชื่อเรียกถนนสายนี้ว่า "ถนนพระโขนง–คลองตัน–บางกะปิ" ต่อมามีการกำหนดชื่อเป็น "ถนนสุขุมวิท 71" แต่ประชาชนบางส่วนเรียกชื่อถนนสายนี้ตั้งแต่ช่วงสี่แยกคลองตันถึงสะพานข้ามคลองแสนแสบ เขตบางกะปิว่า ถนนคลองตัน–บางกะปิ ทำให้เกิดความเข้าใจสับสน ในช่วง พ.ศ. 2500–2504 ได้สร้างถนนสุขาภิบาล 3 ไปเชื่อมต่อเขตมีนบุรี เมื่อมีการขยายถนนให้กว้างขึ้นพร้อมกับการขยายถนนสายสุขาภิบาล 3 ซึ่งต่อจากถนนสายนี้ไปออกทางเขตมีนบุรี เขตบางกะปิจึงมีดำริที่จะตั้งชื่อถนนสายนี้ใหม่เป็น "ถนนรามคำแหง" ถนนพระราม 9 (อักษรโรมัน: Thanon Rama IX) เป็นถนนสายหนึ่งในกรุงเทพมหานคร มีความยาวประมาณ 9 กิโลเมตร มีจุดเริ่มต้นที่แยกพระราม 9 ซึ่งเป็นจุดตัดกับถนนรัชดาภิเษกและถนนอโศก-ดินแดงในพื้นที่เขตดินแดง มุ่งหน้าไปทางตะวันออก เข้าพื้นที่เขตห้วยขวาง ผ่านแยกถนนวัฒนธรรม ผ่านจุดตัดกับถนนประดิษฐ์มนูธรรม และตัดกับถนนรามคำแหงในพื้นที่เขตบางกะปิ ไปสิ้นสุดที่ทางแยกต่างระดับศรีนครินทร์ ซึ่งเป็นจุดตัดกับถนนศรีนครินทร์ ในพื้นที่เขตสวนหลวง โดยจะยกระดับขึ้นมาบรรจบกับทางพิเศษศรีรัช และมีถนนที่ตรงต่อเนื่องไปคือทางหลวงพิเศษหมายเลข 7 หรือมอเตอร์เวย์ ซึ่งถนนพระราม 9 ช่วงตั้งแต่ทางแยกรามคำแหงถึงทางแยกต่างระดับถนนศรีนครินทร์ มีฐานะเป็นทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 343 เดิมอยู่ในความรับผิดชอบของกรมทางหลวง ปัจจุบันอยู่ในความรับผิดชอบของกรุงเทพมหานคร และได้รับการกำหนดเป็นทางหลวงเอเชียสาย 123 เหตุที่ถนนพระราม 9 ไม่มีคำว่า "ที่" ต่อท้ายนั้น ปรากฏชัดเจนจากพระราชดำรัสของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชที่พระราชทานแก่ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครและปลัดกรุงเทพมหานครเมื่อวันที่ 19 กันยายน พ.ศ. 2539 ว่า ไม่มีพระราชประสงค์ให้มีคำ "ที่" ต่อท้ายคำ "พระราม" ซึ่งควรถือว่าเป็นพระราชนิยมของพระองค์ ถนนพระราม 9 ถือเป็นหนึ่งในสถานที่ยอดนิยมสำหรับการเที่ยวกลางคืนในกรุงเทพมหานคร เช่นเดียวกับถนนรัชดาภิเษกที่อยู่ใกล้เคียง โดยเฉพาะอย่างยิ่งในคริสต์ทศวรรษ 1990 (ก่อนวิกฤตการณ์การเงินในเอเชีย พ.ศ. 2540) ที่ไนท์คลับหลายแห่งเปิดดำเนินการบนถนนสายนี้ คนไทยรู้จักกันในนาม "คาเฟ่" นนนวมินทร์ (อักษรโรมัน: Thanon Nawamin) เป็นถนนสายหนึ่งในกรุงเทพมหานคร เดิมชื่อว่า ถนนสุขาภิบาล 1 มีความยาวประมาณ 9 กิโลเมตร มีจุดเริ่มต้นที่สี่แยกบางกะปิ ซึ่งเป็นจุดตัดระหว่างถนนลาดพร้าว ถนนเสรีไทย และถนนพ่วงศิริ ในแขวงคลองจั่น เขตบางกะปิ มีทิศทางมุ่งขึ้นไปทางทิศเหนือ ผ่านพื้นที่เขตบึงกุ่ม ไปสิ้นสุดที่แยกตัดกับถนนรามอินทรา (บริเวณกิโลเมตรที่ 8) ในเขตคันนายาว เดิมถนนนวมินทร์ได้รับการกำหนดให้เป็นทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 3202 ในความดูแลของกรมทางหลวง ต่อมากรมทางหลวงได้โอนให้สำนักการโยธา กรุงเทพมหานคร เป็นผู้ดูแลตลอดระยะทาง ถนนนวมินทร์เริ่มสร้างในช่วง พ.ศ. 2499–2500 ทางแยกสำคัญ ถนนแฮปปี้แลนด์ ถนนศรีบูรพา ถนนโพธิ์แก้ว ถนนประเสริฐมนูกิจ ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 350 ถนนรามอินทรา สถานที่สำคัญ สถานีตำรวจนครบาลลาดพร้าว การเคหะแห่งชาติ โรงเรียนบ้านบางกะปิ โรงเรียนโสมาภา 2 ตลาดอินทรารักษ์ สันติอโศก โรงเรียนพระมารดานิจจานุเคราะห์ สำนักงานประกันสังคม เขตพื้นที่ 9 โรงเรียนวัดบางเตย โรงเรียนบดินทรเดชา (สิงห์ สิงหเสนี) ๒ โรงเรียนเบญจมินทร์ โรงพยาบาลพญาไท นวมินทร์ โรงเรียนนวมินทราชูทิศ กรุงเทพมหานคร ถนนศรีนครินทร์ (อักษรโรมัน: Thanon Srinagarindra) เป็นถนนที่ตั้งชื่อขึ้นเพื่อเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี เนื่องในโอกาสทรงเจริญพระชนมายุครบ 7 รอบเมื่อปี พ.ศ. 2527 มีจุดเริ่มต้นจากถนนลาดพร้าวที่สามแยกบางกะปิ เขตบางกะปิ กรุงเทพมหานคร ไปบรรจบกับถนนสุขุมวิทที่สามแยกการไฟฟ้า อำเภอเมืองสมุทรปราการ จังหวัดสมุทรปราการ ลักษณะถนนแบบ 6-8 ช่องจราจร ระยะทางทั้งหมด 20.181 กิโลเมตร โดยมีระยะทางอยู่ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร 12.5 กิโลเมตร ในพื้นที่จังหวัดสมุทรปราการ 7.681 กิโลเมตร ตลอดแนวถนนไปจนถึงทางแยกศรีเทพาเป็นเส้นทางส่วนใหญ่ของรถไฟฟ้ามหานคร สายสีเหลือง ช่วงลาดพร้าว-สำโรง ซึ่งตั้งอยู่บริเวณเกาะกลางถนน ถนนศรีนครินทร์ช่วงตั้งแต่กิโลเมตรที่ 0 (ทางแยกบางกะปิ) จนถึงกิโลเมตรที่ 10 มีหน่วยงานที่รับผิดชอบเส้นทางคือ สำนักการจราจรและขนส่ง และสำนักการโยธา กรุงเทพมหานคร และช่วงตั้งแต่กิโลเมตรที่ 10 (ทางแยกศรีอุดม) ไปจนถึงกิโลเมตรที่ 20+181 (ทางแยกการไฟฟ้า) มีหน่วยงานที่รับผิดชอบเส้นทางคือ หมวดทางหลวงศรีนครินทร์ แขวงทางหลวงสมุทรปราการ กรมทางหลวง ช่วงที่สองนี้มีฐานะเป็น ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 3344 สายอุดมสุข–สมุทรปราการ
 
image
Guaranteed Results.
รับรองผลทุกคอร์ส
นักเรียนที่เรียนจบหลักสูตรจากบ้านครูตี๋  กว่า  90%  มีผลการเรียนดีขึ้น
และสามารถสอบเข้าโรงเรียนรัฐบาล  และมหาวิทยาลัยชั้นนำของรัฐได้
จากศิษย์เก่าบ้านครูตี๋กว่า 3,000 คน   ตลอดระยะเวลา 25 ปี 

image
Powered by MakeWebEasy.com
เว็บไซต์นี้มีการใช้งานคุกกี้ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพและประสบการณ์ที่ดีในการใช้งานเว็บไซต์ของท่าน ท่านสามารถอ่านรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว  และ  นโยบายคุกกี้