ติวสอบเข้ามหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์  เรียนพิเศษ
 
คณิตศาสตร์      ฟิสิกส์       ภาษาอังกฤษ
แคลคูลัส
ความถนัดทางวิศวกรรมศาสตร์
O-Net    A-level    TGAT    TPAT    TPAT3    TCAS67
 

เปิดสอน   ระดับชั้นประถมศึกษา    มัธยมต้น    มัธยมปลาย
และระดับมหาวิทยาลัย

เพื่อการสอบเพิ่มเกรดประจำภาคเรียน
สอบเข้า ม.1     สอบเข้า ม.4
สอบ Admission     และสอบตรงเข้ามหาวิทยาลัย

"เน้นเรียนตัวต่อตัว    และกลุ่มย่อย 4 คน"

สำหรับนักเรียนที่มุ่งมั่นเข้าศึกษาต่อคณะวิศวกรรมศาสตร์ และคณะวิทยาศาสตร์
มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
 
มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (อังกฤษ: Prince of Songkla University; อักษรย่อ: ม.อ. – PSU) เป็นสถาบันอุดมศึกษาและมหาวิทยาลัยแห่งแรกในภาคใต้ เป็นสถาบันอุดมศึกษาแห่งที่ 13 และมหาวิทยาลัยแห่งที่ 8 ของประเทศไทย ก่อตั้งในปี พ.ศ. 2510 โดยใช้ชื่อว่า มหาวิทยาลัยภาคใต้ ต่อมา พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตรได้พระราชทานนาม "สงขลานครินทร์" เมื่อวันที่ 22 กันยายน พ.ศ. 2510 จึงถือว่าวันที่ 22 กันยายนของทุกปี เป็นวันสงขลานครินทร์ ต่อมา วันที่ 12 มีนาคม พ.ศ. 2511 ได้มีพระบรมราชโองการประกาศใช้ พระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ พ.ศ. 2511 จึงถือว่า วันที่ 13 มีนาคมของทุกปีเป็นวันสถาปนามหาวิทยาลัย ปัจจุบันได้รับเลือกให้เป็น 1 ใน 9 มหาวิทยาลัยวิจัยแห่งชาติ จาก กระทรวงศึกษาธิการ ในปี พ.ศ. 2561 ในระยะแรกของการก่อตั้ง ได้รับนักศึกษาเข้าศึกษาครั้งแรกในคณะวิศวกรรมศาสตร์ โดยใช้อาคารเรียนของคณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยแพทยศาสตร์ (ปัจจุบันคือมหาวิทยาลัยมหิดล) เป็นสถานที่ศึกษา และปีต่อมา พ.ศ. 2511 ก็เริ่มย้ายนักศึกษาคณะศึกษาศาสตร์มาเรียนที่จังหวัดปัตตานี ในปี พ.ศ. 2514 ย้ายนักศึกษาของคณะวิศวกรรมศาสตร์มาเรียนที่ วิทยาเขตหาดใหญ่ ซึ่งปัจจุบันเป็นวิทยาเขตที่ใหญ่ที่สุด พ.ศ. 2520 เปิดวิทยาเขตภูเก็ต พ.ศ. 2533 เปิดวิทยาเขตสุราษฎร์ธานี และ พ.ศ. 2534 เปิดวิทยาเขตตรัง ปัจจุบันมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ เปิดการสอนทั้งในระดับปริญญาตรี ปริญญาโท และปริญญาเอก ใน 31 คณะ 7 วิทยาลัยใน 5 วิทยาเขต ครอบคลุมทั้งสาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี วิทยาศาสตร์การแพทย์ การเกษตร มนุษยศาสตร์ และสังคมศาสตร์ มีบัณฑิตวิทยาลัยดูแลการเรียนการสอนในระดับปริญญาโทและเอก มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์มีนักศึกษาอยู่ในคณะและวิทยาลัยต่างๆ รวมแล้วประมาณ 200 คน ทำการเรียนการสอนทั้งหลักสูตรภาษาไทยและหลักสูตรนานาชาติ ภาคปกติและภาคพิเศษ สมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก เมื่อปี พ.ศ. 2505 รัฐบาลมีนโยบายจัดตั้งมหาวิทยาลัยขึ้นที่ภาคใต้ โดยเริ่มต้นจากการจัดตั้ง "วิทยาลัยศิลปศาสตร์และวิทยาศาสตร์" เพื่อรอการพัฒนาขึ้นเป็นระดับมหาวิทยาลัย ต่อมา ในปี พ.ศ. 2508 คณะรัฐมนตรีได้มีการอนุมัติหลักการในการจัดตั้งมหาวิทยาลัยในภาคใต้ขึ้นที่ ตำบลรูสะมิแล อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี โดยจะใช้เป็นที่ตั้งของคณะวิศวกรรมศาสตร์ และใช้ชื่ออย่างไม่เป็นทางการว่า "มหาวิทยาลัยภาคใต้" ซึ่งมีสำนักงานชั่วคราวของมหาวิทยาลัยอยู่ที่อาคารคณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยแพทยศาสตร์ (อาคารคณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล ในปัจจุบัน) หลังจากนั้น คณะกรรมการพัฒนาภาคใต้ โดย พันเอก (พิเศษ) ดร.ถนัด คอมันตร์ นำความกราบบังคมทูลพระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร ขอพระราชทานชื่อให้แก่มหาวิทยาลัย เพื่อเป็นสิริมงคลแก่มหาวิทยาลัย ซึ่งพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชได้พระราชทานนามมหาวิทยาลัยว่า "มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์" เมื่อวันที่ 22 กันยายน พ.ศ. 2510 ตามพระนามทรงกรมของสมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก คือ กรมหลวงสงขลานครินทร์ ดังนั้น มหาวิทยาลัยจึงถือว่าวันที่ 22 กันยายน ของทุกปีเป็น "วันสงขลานครินทร์" ในปี พ.ศ. 2510 มหาวิทยาลัยที่จังหวัดปัตตานีก่อสร้างเสร็จในบางส่วนแล้วนั้น ศาสตราจารย์ ดร.สตางค์ มงคลสุข และคณะ ได้เดินทางไปตรวจการก่อสร้าง พบว่า บริเวณดังกล่าวไม่เหมาะสมสำหรับเป็นที่ตั้งของคณะวิศวกรรมศาสตร์ ดังนั้น จึงมีความเห็นว่า มหาวิทยาลัยที่จังหวัดปัตตานีนั้นควรใช้เป็นอาคารของคณะศึกษาศาสตร์ และคณะทางศิลปศาสตร์ และได้ย้ายคณะวิศวกรรมศาสตร์ไปตั้งที่ตำบลคอหงส์ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา ต่อมา วันที่ 12 มีนาคม พ.ศ. 2511 ได้มีพระบรมราชโองการประกาศใช้พระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ขึ้น มหาวิทยาลัยจึงกำหนดให้วันที่ 13 มีนาคม ของทุกปี เป็น "วันสถาปนามหาวิทยาลัย" ในวันที่ 21 มิถุนายน พ.ศ. 2559 ได้มีการประกาศใช้ พระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์  และได้กำหนดให้มหาวิทยาลัยเป็นนิติบุคคล มีฐานะเป็นหน่วยงานในกำกับของรัฐ ซึ่งไม่ใช่ส่วนราชการและไม่เป็นรัฐวิสาหกิจ โดยพระราชบัญญัติฉบับนี้มีผลบังคับใช้เมื่อพ้นกำหนดสามสิบวันนับแต่วันประกาศในราชกิจจานุเบกษาคือวันที่ 21 กรกฎาคม พ.ศ. 2559 เป็นต้นไป  ปัจจุบัน มหาวิทยาลัยได้เปิดคณะวิชาต่าง ๆ 38 คณะและเทียบเท่า โดยเปิดสอนสาขาวิชาการต่าง ๆ จำนวน 321 สาขาวิชา ชื่อมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ โดย สงขลานครินทร์ คือ พระนามฐานันดรศักดิ์ที่พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว โปรดเกล้าฯ สถาปนา เจ้าฟ้ามหิดลอดุลยเดช ดำรงพระนามอิสริยยศฐานันดรศักดิ์เป็นเจ้ากรม โดยพระราชทานชื่อ เมืองสงขลา เป็นพระนามทรงกรม เพื่อเป็นเกียรติแก่เมืองสงขลา เมื่อ พ.ศ. 2446 เสมือนเป็นเจ้าแห่งนครสงขลา ตราประจำสถาบัน ได้แก่ อักษร ม.อ. ภายใต้พระมหาพิชัยมงกุฏ และ จักรกับตรีศูลพระมหาพิชัยมงกุฏ คือ ศิราภรณ์ ซึ่งเป็นสัญลักษณ์สำคัญแสดงว่าเป็นพระมหากษัตริย์ จักรกับตรีศูล คือ ตราเครื่องหมายประจำราชวงศ์จักรี ม.อ. คือ อักษรย่อมาจากพระนาม "มหิดลอดุลเดช" อันเป็นพระนามเดิมของสมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก ดอกไม้ประจำมหาวิทยาลัย คือ ดอกศรีตรัง สีประจำมหาวิทยาลัย คือ สีน้ำเงิน มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ เป็นมหาวิทยาลัยแห่งแรกของภาคใต้ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อกระจายโอกาสทางการศึกษาระดับอุดมศึกษาสู่ภาคใต้ ด้วยเหตุนี้มหาวิทยาลัยจึงมีเจตนาที่จะเป็นมหาวิทยาลัยหลายวิทยาเขต ปัจจุบันมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ประกอบด้วย 5 วิทยาเขต ได้แก่ วิทยาเขตปัตตานี, วิทยาเขตหาดใหญ่, วิทยาเขตภูเก็ต, วิทยาเขตสุราษฎร์ธานี, และวิทยาเขตตรัง มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ได้รับนักศึกษาแพทย์ของคณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์ หลักสูตรแพทยศาสตรบัณฑิต (พ.บ.) ชั้นปีที่ 2-3 มาเรียนในรายวิชาปรีคลินิก เช่น ชีวเคมีการแพทย์พื้นฐาน มหกายวิภาคศาสตร์ จุลกายวิภาคศาสตร์ คัพภวิทยา ประสาทกายวิภาคศาสตร์ สรีรวิทยาทางการแพทย์ จุลชีววิทยาทางการแพทย์และวิทยาอิมมูน ปรสิตวิทยาทางการแพทย์ เภสัชวิทยาการแพทย์ พยาธิวิทยากายวิภาค พยาธิวิทยาคลินิก และเวชพันธุศาสตร์ โดยมีคณาจารย์ประจำคณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ และอาจารย์รับเชิญพิเศษเป็นผู้รับผิดชอบในการเรียนการสอน เครือข่ายวิจัย สาขาความเป็นเลิศ/สถานวิจัยความเป็นเลิศ/สถานวิจัย/หน่วยวิจัยที่ได้รับ สาขาความเป็นเลิศ (Discipline of Excellence; DoE)ชีวเคมี (ปี 44-53) อุตสาหกรรมเกษตร (สิ้นสุดโครงการปี 49) อิสลามศึกษา (สิ้นสุดโครงการปี 49) ระบาดวิทยา (ปี 47-56) วิศวกรรมเคมี (ก.ค.52-ก.ค.57) โครงการสู่ความเป็นเลิศสาขาเภสัชศาสตร์ ระยะ 2 สถานวิจัยความเป็นเลิศ (Center of Excellence;CoE)สถานวิจัยความหลากหลายทางชีวภาพแห่งคาบสมุทรไทย (ปี49- 53) Centre for Biopersity of Peninsular Thailand เก็บถาวร 2010-08-15 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน ศูนย์เครือข่ายความเป็นเลิศด้านนาโนเทคโนโลยีภาคใต้ (สิ้นสุดโครงการปี 54) NANOTEC Center of Excellence at PSU สถานวิจัยความเป็นเลิศด้านเทคโนโลยียางพารา (พ.ย.50-พ.ย.55) Center of Excellence in Natural Rubber Technology เก็บถาวร 2012-11-22 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน สถานวิจัยความเป็นเลิศเทคโนโลยีชีวภาพเกษตรและทรัพยากรธรรมชาติ ระยะที่2 (ส.ค.57-.ส.ค.62) Center of Excellence in Agricultural and Natural Resources Biotechnology please II สถานวิจัยความเป็นเลิศระบบนำส่งยา (ก.พ.52-ก.พ.57) Drug Delivery System Excellence Center เก็บถาวร 2020-09-22 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน สถานวิจัยความเป็นเลิศด้านนาโนเทคโนโลยีเพื่อการพลังงาน Center of Excellence in Nanotechnology for Energy (CENE) สถานวิจัย (Research Center; RC) หน่วยวิจัย (Research Unit; RU)
การประเมินคุณภาพมหาวิทยาลัย ดูเพิ่ม: การประเมินคุณภาพผลงานวิจัยเชิงวิชาการโดย สกว. ในปี พ.ศ. 2549 สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา ได้จัดอันดับมหาวิทยาลัยของประเทศไทยใน "โครงการฐานข้อมูลออนไลน์เพื่อประเมินศักยภาพของมหาวิทยาลัยไทย" โดยในภาพรวมผลการจัดอันดับมหาวิทยาลัยกลุ่มดัชนีชี้วัดด้านการวิจัยและกลุ่มดัชนีชี้วัดตามด้านการเรียนการสอน ซึ่งมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ได้รับการจัดอันดับเป็นมหาวิทยาลัยอยู่ในกลุ่มที่ 3 ในด้านการเรียนการและด้านการวิจัยของประเทศไทยได้คะแนนร้อยละ 65-69 จากคะแนนเต็ม 100% ส่วนการประเมินคุณภาพผลงานวิจัยเชิงวิชาการโดย สกว. ด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีของสถาบันอุดมศึกษาในประเทศไทยครั้งที่ 3 ในปีพ.ศ. 2554 พบว่า มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ได้รับการประเมินในระดับ 5 หรือในระดับดีเยี่ยมในกลุ่มสาขาวิทยาศาสตร์ธรรมชาติ ภาควิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ , กลุ่มสาขาวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีการเกษตร และสัตวแพทยศาสตร์ (วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร) ภาควิชาเทคโนโลยีอาหาร คณะอุตสาหกรรมเกษตร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ และระดับ 4 หรือในระดับดีในกลุ่มสาขาเทคโนโลยีชีวภาพ ภาควิชาเทคโนโลยีชีวภาพอุตสาหกรรม คณะอุตสาหกรรมเกษตร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ , กลุ่มสาขาวิทยาศาสตร์ธรรมชาติ ภาควิชาคณิตศาสตร์และวิทยาการคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี , ภาควิชาจุลชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ , กลุ่มสาขาวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีการเกษตร และสัตวแพทยศาสตร์ (Plant and Soil Science) ภาควิชาพืชศาสตร์ คณะทรัพยากรธรรมชาติ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ , กลุ่มสาขาแพทยศาสตร์และทันตแพทยศาสตร์ (อายุรศาสตร์) ภาควิชาอายุรศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ , ภาควิชาจิตเวชศาสตร์ ชีวเวชศาสตร์ พยาธิวิทยา หน่วยระบาดวิทยา รังสีวิทยา เวชศาสตร์ฉุกเฉิน และสถาบันโรคระบบทางเดินอาหารและตับ คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ , กลุ่มสาขาวิทยาศาสตร์สุขภาพ (เภสัชศาสตร์) คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ อันดับมหาวิทยาลัย อันดับมหาวิทยาลัยในประเทศไทย และ อันดับสถาบันอุดมศึกษาโดยสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา นอกจากการจัดอันดับมหาวิทยาลัยโดยหน่วยงานในประเทศไทยแล้ว ยังมีหน่วยงานจัดอันดับมหาวิทยาลัยจากต่างประเทศอีกหลายหน่วยงาน ซึ่งแต่ละหน่วยงานมีเกณฑ์การจัดอันดับและการให้คะแนนที่แตกต่างกัน ได้แก่ การจัดอันดับโดย Centrum voor Wetenschap en Technologie Studies การจัดอันดับมหาวิทยาลัยโดย Centrum voor Wetenschap en Technologie Studies หรือ CWTS Leiden University ประจำปี 2016 ของประเทศเนเธอร์แลนด์ โดยใช้เกณฑ์พิจารณาจากผลงานวิจัยตีพิมพ์ในวารสารที่ปรากฏชื่ออยู่ในฐานข้อมูล Web of Science database มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์เป็นมหาวิทยาลัยอันดับ 5 ของประเทศไทย และอันดับที่ 822 ของโลก การจัดอันดับโดย Center for World University Rankings การจัดอันดับโดย Center for World University Rankings หรือ CWUR ที่มีเกณฑ์การจัดอันดับคือ คุณภาพงานวิจัย ศิษย์เก่าที่จบไป คุณภาพการศึกษา คุณภาพของอาจารย์ และภาควิชาต่าง ๆ ประจำปี พ.ศ. 2559 มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ไม่ติดอันดับ  น้ำหนักการชี้วัด การแบ่งคะแนนจะต่างกันในแต่ละสาขาวิชา เช่น ทางด้านการแพทย์ ซึ่งเป็นสาขาที่มีอัตราการเผยแพร่งานวิจัยสูง การวัดการอ้างอิงและh-index ก็จะคิดเป็น 25 เปอร์เซนต์ สำหรับแต่ละมหาวิทยาลัย ในทางกลับกันสาขาที่มีการเผยแพร่ผลงานทางวิชาการที่น้อยกว่า เช่น สาขาประวัติศาสตร์ จะคิดเป็นร้อยละที่ต่ำกว่าคือ 15 เปอร์เซนต์ จากคะแนนทั้งหมด ในขณะเดียวกันสาขาศิลปะและการออกแบบ ซึ่งมีผลงานตีพิมพ์น้อยก็จะใช้วิธีการวัดจากผู้ว่าจ้างและการสำรวจด้านวิชาการ QS Asia ชื่อเสียงทางวิชาการ (30 เปอร์เซนต์) เป้าหมายของตัวชี้วัดนี้เพื่อจะบอกว่ามหาวิทยาลัยใดมีชื่อเสียงในในระดับนานาชาติ การสำรวจผู้จ้างงาน (20 เปอร์เซนต์) อัตราส่วนของคณะต่อนักศึกษา (15 เปอร์เซนต์) วัดจากอัตราส่วนของบุคลากรทางการศึกษาต่อจำนวนนักศึกษา และการติดต่อและให้การสนับสนุนของบุคลากรที่มีต่อนักศึกษา การอ้างอิงในรายงาน (10 เปอร์เซนต์) และผลงานของคณะ (10 เปอร์เซนต์) เป็นการรวมทั้งงานที่อ้างอิงใน scopusและ การตีพิมพ์ผลงานโดยคณะนั้นๆเอง บุคลากรระดับดุษฎีบัณฑิต (5 เปอร์เซนต์) สัดส่วนคณะที่เป็นหลักสูตรนานาชาติ (2.5 เปอร์เซนต์) และนักศึกษาต่างชาติ (2.5 เปอร์เซนต์) สัดส่วนของรับนักศึกษาและเปลี่ยนที่เข้ามาศึกษา (2.5 เปอร์เซนต์) และการส่งนักศึกษาออกไปแลกเปลี่ยน (2.5 เปอร์เซนต์) โดยมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ได้รับการจัดให้เป็นมหาวิทยาลัยอันดับ 8 ของประเทศไทย และเป็นอันดับที่ 185 ของเอเชีย การจัดอันดับโดย The Times Higher Education The Times Higher Education หรือ THE มีระเบียบวิธีการจัดอันดับโดยแบ่งตัวชี้วัดเป็น 5 ประการ วัดคะแนนเป็นเปอร์เซนต์ การสอน (บรรยากาศการเรียน) คิดเป็น 30 เปอร์เซนต์ ประกอบไปด้วย การสำรวจชื่อเสียงทางวิชาการ 15 เปอร์เซนต์ อัตราส่วนของจำนวนบุคลากรต่อนักศึกษา 4.5 เปอร์เซนต์ อัตราส่วนผู้สำเร็จการศึกษาระดับดุษฎีบัณฑิตต่อบัณฑิต 2.25 เปอร์เซนต์ อัตราส่วนบุคลากรระดับดุษฎีบัณฑิต 6 เปอร์เซนต์ รายรับของมหาวิทยาลัย 2.25 เปอร์เซนต์ การวิจัย (ปริมาณ รายรับ และชื่อเสียง) 30 เปอร์เซนต์ ประกอบไปด้วย สำรวจความมีชื่อเสียงทุกปี โดย Academic Reputation Survey 18 เปอร์เซนต์ รายรับจากงานวิจัย 6 เปอร์เซนต์ ปริมาณงานวิจัย 6 เปอร์เซนต์ การอ้างอิง อิทธิพลของงานวิจัย 30 เปอร์เซนต์ ทัศนะจากนานาชาติ (บุคลากร นักศึกษาและงานวิจัย) 7.5 เปอร์เซนต์ อัตราส่วนนักศึกษาต่างชาติต่อนักศึกษาในประเทศ 2.5 เปอร์เซนต์ อัตราส่วนบุคลากรต่างชาติต่อในประเทศ 2.5 เปอร์เซนต์ ความร่วมมือระดับนานาชาติ 2.5 เปอร์เซนต์ การส่งต่อความรู้ 2.5เปอร์เซนต์ การที่มหาวิทยาลัยมีนวัตกรรมหรือสิ่งประดิษฐ์ที่นำไปใช้ต่อยอดในภาคอุตสาหกรรม โดยมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ได้รับการจัดอันดับให้เป็นอันดับ 6 ของประเทศไทย และอันดับที่ 801+ ของโลก
สอนพิเศษตัวต่อตัว เรียนพิเศษตัวต่อตัว เรียนพิเศษกลุ่มย่อย  วิชาคณิตศาสตร์ ฟิสิกส์ วิทยาศาสตร์ ภาษาอังกฤษ ความถนัดทางวิศวกรรม รับรองผล เรียนเพิ่มเกรด ติวเพิ่มเกรด o-net ติวสอบเข้า ม.1 ติวสอบเข้า ม.4  onsite เรียนออนไซต์  กวดวิชา ติว ครูคณิต กวดวิชา ติว ครูเลข ครูวิทย์ ครูฟิสิกส์ ครูอังกฤษ กวดวิชา ติว  tutor วิทย์ ติวเตอร์ เรียนออนไซต์ onsite อาจารย์คณิต อาจารย์เลข อาจารย์วิทย์ อาจารย์ฟิสิกส์ อาจารย์อังกฤษ onsite เรียนออนไซต์ เรียนพิเศษใกล้ฉัน  เรียนพิเศษเลขกับติวเตอร์คนไหนดี? เรียนพิเศษคณิตศาสตร์กับติวเตอร์คนไหนดี? เรียนพิเศษฟิสิกส์กับติวเตอร์คนไหนดี? เรียนพิเศษวิทย์กับติวเตอร์คนไหนดี? วิทย์ เรียนพิเศษใกล้ฉัน เรียนพิเศษภาษาอังกฤษกับติวเตอร์คนไหนดี?  เรียนพิเศษที่ไหนดี? เรียนพิเศษคณิตศาสตร์ที่ไหนดี? เรียนพิเศษเลขที่ไหนดี? เรียนพิเศษวิทยาศาสตร์ที่ไหนดี? เรียนพิเศษฟิสิกส์ที่ไหนดี? เรียนพิเศษภาษาอังกฤษที่ไหนดี? onsite เรียนออนไซต์ onsite เรียนออนไซต์ เรียนพิเศษวิทยาศาสตร์กับติวเตอร์คนไหนดี?  ติวเตอร์ tutor โรงเรียนกวดวิชา Quota โควตา TGAT TPAT Admission วิชาสามัญ GPAX GPA TPAT3 A-level คณิตศาสตร์ประยุกต์1 A-level คณิตศาสตร์ประยุกต์2  A-level วิทยาศาสตร์ประยุกต์ ติวเตอร์  A-level ฟิสิกส์ A-level ภาษาอังกฤษ  TGAT TPAT A-level Mathematics Physics Engineering Science TCAS dek66 dek67 dek68 TCAS66 TCAS67 TCAS68 pat1 pat2 pat3 gat ครูสอนพิเศษ อาจารย์สอนพิเศษ  ติวเตอร์ tutor  โรงเรียนกวดวิชา Quota โควตา TGAT TPAT Admission วิชาสามัญ GPAX GPA TPAT3 A-level คณิตศาสตร์ประยุกต์1 A-level คณิตศาสตร์ประยุกต์2  A-level วิทยาศาสตร์ประยุกต์ 
ติวสอบเข้ามหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์  เรียนพิเศษเข้ามหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์   สอนพิเศษเข้ามหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ กวดวิชาเข้ามหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์   โรงเรียนกวดวิชาเข้ามหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์    ติวเตอร์เข้ามหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์     ติวเข้ามหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์    แนวข้อสอบเข้ามหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์    เก็งข้อสอบเข้ามหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

image
 Guaranteed Results.
รับรองผลทุกคอร์ส
นักเรียนที่เรียนจบหลักสูตรจากบ้านครูตี๋  กว่า  90%  มีผลการเรียนดีขึ้น
และสามารถสอบเข้าโรงเรียนรัฐบาล  และมหาวิทยาลัยชั้นนำของรัฐได้
จากศิษย์เก่าบ้านครูตี๋กว่า 3,000 คน   ตลอดระยะเวลา 25 ปี 
image
Powered by MakeWebEasy.com
เว็บไซต์นี้มีการใช้งานคุกกี้ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพและประสบการณ์ที่ดีในการใช้งานเว็บไซต์ของท่าน ท่านสามารถอ่านรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว  และ  นโยบายคุกกี้