เรียนพิเศษเขตคลองเตย
 
คณิตศาสตร์      ฟิสิกส์       ภาษาอังกฤษ
แคลคูลัส
ความถนัดทางวิศวกรรมศาสตร์
O-Net    A-level    TGAT    TPAT    TPAT3    TCAS67
 

เปิดสอน   ระดับชั้นประถมศึกษา    มัธยมต้น    มัธยมปลาย
และระดับมหาวิทยาลัย

เพื่อการสอบเพิ่มเกรดประจำภาคเรียน
สอบเข้า ม.1     สอบเข้า ม.4
สอบ Admission     และสอบตรงเข้ามหาวิทยาลัย

"เน้นเรียนตัวต่อตัว    และกลุ่มย่อย 4 คน"

สำหรับนักเรียนที่มุ่งมั่นเข้าศึกษาต่อคณะวิศวกรรมศาสตร์ และคณะวิทยาศาสตร์
มหาวิทยาลัย TOP 10 ของประเทศ
 
สอนพิเศษตัวต่อตัว เรียนพิเศษตัวต่อตัว เรียนพิเศษกลุ่มย่อย สอนพิเศษกลุ่มย่อย วิชาคณิตศาสตร์ ฟิสิกส์ วิทยาศาสตร์ ภาษาอังกฤษ ความถนัดทางวิศวกรรม รับรองผล เรียนเพิ่มเกรด ติวเพิ่มเกรด  o-net  ติวสอบเข้า ม.1 ติวสอบเข้า ม.4  onsite เรียนออนไซต์  กวดวิชา ติว ครูคณิต กวดวิชา ติว ครูเลข ครูวิทย์ onsite ครูฟิสิกส์ ครูอังกฤษ กวดวิชา ติว  tutor วิทย์ ติวเตอร์ อาจารย์คณิต อาจารย์เลข อาจารย์วิทย์ อาจารย์ฟิสิกส์ อาจารย์อังกฤษ onsite เรียนออนไซต์ เรียนพิเศษใกล้ฉัน  เรียนพิเศษเลขกับติวเตอร์คนไหนดี? เรียนพิเศษคณิตศาสตร์กับติวเตอร์คนไหนดี? เรียนพิเศษฟิสิกส์กับติวเตอร์คนไหนดี? เรียนพิเศษวิทย์กับติวเตอร์คนไหนดี? วิทย์ เรียนพิเศษใกล้ฉัน เรียนพิเศษภาษาอังกฤษกับติวเตอร์คนไหนดี?  เรียนพิเศษที่ไหนดี? เรียนพิเศษคณิตศาสตร์ที่ไหนดี? เรียนพิเศษเลขที่ไหนดี? เรียนพิเศษวิทยาศาสตร์ที่ไหนดี? เรียนพิเศษฟิสิกส์ที่ไหนดี? เรียนพิเศษภาษาอังกฤษที่ไหนดี?  เรียนพิเศษวิทยาศาสตร์กับติวเตอร์คนไหนดี?  ติวเตอร์ tutor โรงเรียนกวดวิชา Quota โควตา TGAT TPAT Admission วิชาสามัญ GPAX GPA TPAT3 A-level คณิตศาสตร์ประยุกต์1 A-level คณิตศาสตร์ประยุกต์2  A-level วิทยาศาสตร์ประยุกต์ ติวเตอร์  A-level ฟิสิกส์ A-level ภาษาอังกฤษ  TGAT TPAT A-level Mathematics Physics Engineering Science TCAS dek66 dek67 dek68 TCAS66 TCAS67 TCAS68 pat1 pat2 pat3 gat ครูสอนพิเศษ อาจารย์สอนพิเศษ  ติวเตอร์ tutor  โรงเรียนกวดวิชา Quota โควตา TGAT TPAT Admission วิชาสามัญ GPAX GPA TPAT3 A-level คณิตศาสตร์ประยุกต์1 A-level คณิตศาสตร์ประยุกต์2  A-level วิทยาศาสตร์ประยุกต์
อยู่เขตคลองเตยเรียนพิเศษกับติวเตอร์คนไหนดี เรียนพิเศษคณิตศาสตร์เขตคลองเตย เรียนพิเศษฟิสิกส์เขตคลองเตย เรียนพิเศษภาษาอังกฤษเขตคลองเตย หาติวเตอร์สอนคณิตศาสตร์เขตคลองเตย หาติวเตอร์สอนฟิสิกส์เขตคลองเตย  หาติวเตอร์สอนภาษาอังกฤษเขตคลองเตย ครูสอนคณิตศาสตร์เขตคลองเตย ครูสอนฟิสิกส์เขตคลองเตย สอนพิเศษตัวต่อตัวเขตคลองเตย เรียนพิเศษตัวต่อตัวเขตคลองเตย  ติวสอบเข้ามหาวิทยาลัยเขตคลองเตย เรียนวิทยาศาสตร์กับครูสอนวิทยาศาสตร์เขตคลองเตย ครูเลขเขตคลองเตย ครูวิทย์เขตคลองเตย ติววิทยาศาสตร์เขตคลองเตย ติววิทย์เขตคลองเตย ติวคณิตเขตคลองเตย ติวเลขเขตสาทรหาติวเตอร์สอนพิเศษเขตคลองเตย  อยู่เขตคลองเตย โรงเรียนกวดวิชาเขตคลองเตย     โรงเรียนกวดวิชาเขตคลองเตย สอนพิเศษคณิตศาสตร์เขตคลองเตย สอนพิเศษวิทยาศาสตร์เขตคลองเตย สอนพิเศษภาษาอังกฤษเขตคลองเตย สอนพิเศษฟิสิกส์เขตคลองเตย เรียนพิเศษคณิตศาสตร์คลองเตย เรียนพิเศษวิทยาศาสตร์เขตคลองเตย เรียนพิเศษภาษาอังกฤษเขตคลองเตย เรียนพิเศษฟิสิกส์เขตคลองเตย
คลองเตย เป็นหนึ่งในห้าสิบเขตของกรุงเทพมหานคร ถือเป็นเขตเศรษฐกิจใหม่และการพัฒนาตามแนววงแหวนอุตสาหกรรม ที่ตั้งและอาณาเขต เขตคลองเตยตั้งอยู่ริมฝั่งแม่น้ำเจ้าพระยา ทางตอนกลางค่อนไปทางตะวันตกของฝั่งพระนคร มีอาณาเขตติดต่อกับเขตต่าง ๆ เรียงตามเข็มนาฬิกาดังนี้ ทิศเหนือและทิศตะวันออก ติดต่อกับเขตวัฒนา มีถนนสุขุมวิทฟากเหนือเป็นเส้นแบ่งเขต
ทิศใต้ ติดต่อกับเขตพระโขนงและอำเภอพระประแดง (จังหวัดสมุทรปราการ) มีซอยสุขุมวิท 52 (ศิริพร), แนวเส้นตรงจากซอยสุขุมวิท 52 ไปบรรจบจุดกึ่งกลางแม่น้ำเจ้าพระยา และแนวกึ่งกลางแม่น้ำเจ้าพระยาเป็นเส้นแบ่งเขต ทิศตะวันตก ติดต่อกับเขตยานนาวา เขตสาทร และเขตปทุมวัน มีขอบทางรถไฟสายแม่น้ำฟากตะวันออกเป็นเส้นแบ่งเขต ประวัติ ตลาดคลองเตย ย้อนไปถึงประมาณพุทธศตวรรษที่ 14 (คริสต์ศตวรรษที่ 9) บริเวณเขตคลองเตยเคยเป็นที่ตั้งของ เมืองปากน้ำพระประแดง เป็นเมืองหน้าด่านปากน้ำเจ้าพระยาก่อนที่จะขึ้นไปสู่เมืองอื่น ๆ (อยู่ตรงข้ามกับเมือง (อำเภอ) พระประแดงในปัจจุบัน ซึ่งสร้างขึ้นในสมัยรัชกาลที่ 1) เมื่อมีการจัดการปกครองส่วนภูมิภาคในสมัยรัชกาลที่ 5 บริเวณนี้จึงอยู่ในเขตการปกครองของเมือง (จังหวัด) พระประแดง โดยมีฐานะเป็น ตำบลคลองเตย ขึ้นกับอำเภอพระโขนง ต่อมาอำเภอพระโขนงได้ย้ายมาขึ้นกับจังหวัดพระนคร และได้มีการยุบรวมจังหวัดธนบุรีกับจังหวัดพระนคร เปลี่ยนฐานะเป็นนครหลวงกรุงเทพธนบุรีและกรุงเทพมหานคร ซึ่งได้เปลี่ยนการเรียกหน่วยการปกครองใหม่ด้วย ตำบลคลองเตยจึงเปลี่ยนแปลงฐานะเป็น แขวงคลองเตย เป็นพื้นที่การปกครองของสำนักงานเขตพระโขนง ภายหลังเขตพระโขนงมีความเจริญและมีประชากรหนาแน่นขึ้น พื้นที่บางแห่งอยู่ไกลจากสำนักงานเขต ในวันที่ 27 เมษายน พ.ศ. 2532 กรุงเทพมหานครจึงได้จัดตั้งสำนักงานเขตพระโขนง สาขา 1 (คลองเตย) ขึ้นดูแลแขวงคลองเตย แขวงคลองตัน และแขวงพระโขนง และในวันที่ 9 พฤศจิกายน พ.ศ. 2532 กระทรวงมหาดไทยได้แบ่งพื้นที่แขวงทั้งสามตั้งเป็น เขตคลองเตย กรุงเทพมหานคร จนกระทั่งในวันที่ 31 มีนาคม พ.ศ. 2538 กรุงเทพมหานครได้จัดตั้งแขวงคลองเตยเหนือ แขวงคลองตันเหนือ และแขวงพระโขนงเหนือ โดยใช้ถนนสุขุมวิทเป็นเส้นแบ่งเขตออกจากแขวงเดิม และให้สำนักงานเขตคลองเตย สาขา 1 ดูแลพื้นที่แขวงใหม่ดังกล่าวซึ่งต่อมาได้แยกออกไปเป็นเขตวัฒนาใน พ.ศ. 2540 
สถานที่สำคัญ ท่าเรือกรุงเทพ สวนป่าเบญจกิติ การไฟฟ้านครหลวง สำนักงานใหญ่ การไฟฟ้านครหลวง สำนักงานใหญ่ สถานีขนส่งผู้โดยสารกรุงเทพ (เอกมัย) ศูนย์การประชุมแห่งชาติสิริกิติ์ อุทยานเบญจสิริ สวนเบญจกิติ สวนป่าเบญจกิติ ช่อง 3 เอชดี กรมศุลกากร
ท่าเรือกรุงเทพ การท่าเรือแห่งประเทศไทย แพตสเตเดียม สโมสรฟุตบอลการท่าเรือ ศูนย์วิทยาศาสตร์เพื่อการศึกษา (ท้องฟ้าจำลองกรุงเทพ) วัดคลองเตยใน วัดคลองเตยนอก วัดสะพาน ตำหนักปลายเนิน สถานศึกษา โรงเรียนปทุมคงคา โรงเรียนพระหฤทัยคอนแวนต์ โรงเรียนศรีวิกรม์ โรงเรียนสายน้ำผึ้ง ในพระอุปถัมภ์ฯ มหาวิทยาลัยกรุงเทพ วิทยาเขตกล้วยน้ำไท การคมนาคม ทางเข้าสถานีศูนย์การประชุมแห่งชาติสิริกิติ์ ทางบก ถนนพระรามที่ 4 ถนนสุขุมวิท ถนนสุนทรโกษา ถนนอาจณรงค์ ถนนทางรถไฟสายเก่าปากน้ำ ถนนเกษมราษฎร์ ถนนรัชดาภิเษก ถนนพระรามที่ 3 ทางพิเศษเฉลิมมหานคร ทางพิเศษฉลองรัช ทางน้ำ แม่น้ำเจ้าพระยา คลองพระโขนง คลองขุดท่าเรือ 
ระบบขนส่งมวลชน รถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคล สถานีคลองเตย บริเวณถนนพระรามที่ 4 ด้านหน้าสำนักงานการไฟฟ้านครหลวงเขตคลองเตย บริเวณทิศตะวันออกของจุดตัดทางรถไฟสายแม่น้ำ และทางขึ้น–ลงทางพิเศษเฉลิมมหานคร (ทางด่วนขั้นที่ 1) ซึ่งเป็นจุดบรรจบถนนพระรามที่ 4 ถนนเชื้อเพลิง และถนนดวงพิทักษ์ สถานีศูนย์การประชุมแห่งชาติสิริกิติ์ บริเวณถนนรัชดาภิเษก–พระรามที่ 4 ด้านหน้าศูนย์การประชุมแห่งชาติสิริกิติ์ บริเวณทิศเหนือของทางแยกพระรามที่ 4 จุดบรรจบของถนนรัชดาภิเษก ถนนพระรามที่ 4 และถนนพระรามที่ 3 รถไฟฟ้าบีทีเอส สายสุขุมวิท (ร่วมกับเขตวัฒนา) สถานีนานา สถานีอโศก สถานีพร้อมพงษ์ สถานีทองหล่อ สถานีเอกมัย สถานีพระโขนง สถานีอ่อนนุช เศรษฐกิจชุมชน ที่ชุมชนเกาะกลางน้ำ เขตคลองเตย ผู้ที่อาศัยอยู่ยังชุมชนนี้ประกอบอาชีพเกษตรกรรม ด้วยการปลูกผักและเพาะเห็ดหลายชนิด เช่น เห็ดนางฟ้า เห็ดนางฟ้าภูฏาน เห็ดเป๋าฮื้อ เห็ดหูหนู
คลองเตย เป็นแขวงหนึ่งของเขตคลองเตย กรุงเทพมหานคร ที่ตั้งและอาณาเขต แขวงคลองเตยตั้งอยู่ทางทิศตะวันตกของเขตคลองเตย มีอาณาเขตติดต่อกับแขวงและตำบลข้างเคียงดังนี้ ทิศเหนือ ติตต่อกับแขวงคลองเตยเหนือ (เขตวัฒนา) มีถนนสุขุมวิทเป็นเส้นแบ่งเขต ทิศตะวันออก ติดต่อกับแขวงคลองตันและแขวงพระโขนง (เขตคลองเตย) มีซอยสุขุมวิท 22 (สายน้ำทิพย์) ซอยอรรถกวี ถนนพระรามที่ 4 ถนนเกษมราษฎร์ ถนนทางรถไฟสายเก่าปากน้ำ และคลองพระโขนงเป็นเส้นแบ่งเขต ทิศใต้ ติดต่อกับตำบลบางกอบัวและตำบลบางกะเจ้า (อำเภอพระประแดง จังหวัดสมุทรปราการ) มีแนวกึ่งกลางแม่น้ำเจ้าพระยาเป็นเส้นแบ่งเขต ทิศตะวันตก ติดต่อกับแขวงช่องนนทรี (เขตยานนาวา) แขวงทุ่งมหาเมฆ (เขตสาทร) และแขวงลุมพินี (เขตปทุมวัน) มีขอบทางรถไฟสายแม่น้ำฟากตะวันออกเป็นเส้นแบ่งเขต คลองตัน เป็นแขวงหนึ่งของเขตคลองเตย กรุงเทพมหานคร ที่ตั้งและอาณาเขต แขวงคลองตันตั้งอยู่ทางตอนกลางของเขตคลองเตย มีอาณาเขตติดต่อกับแขวงข้างเคียงดังนี้ ทิศเหนือ ติตต่อกับแขวงคลองเตยเหนือและแขวงคลองตันเหนือ (เขตวัฒนา) มีถนนสุขุมวิทเป็นเส้นแบ่งเขต ทิศตะวันออก ติดต่อกับแขวงพระโขนง (เขตคลองเตย) มีซอยสุขุมวิท 36 (นภาศัพท์) ซอยแสนสบาย และคูน้ำเทพธารินทร์เป็นเส้นแบ่งเขต ทิศใต้ ติดต่อกับแขวงคลองเตย (เขตคลองเตย) มีถนนทางรถไฟสายเก่าปากน้ำเป็นเส้นแบ่งเขต ทิศตะวันตก ติดต่อกับแขวงคลองเตย (เขตคลองเตย) มีถนนเกษมราษฎร์ ถนนพระรามที่ 4 ซอยอรรถกวี และซอยสุขุมวิท 22 (สายน้ำทิพย์) เป็นเส้นแบ่งเขต พระโขนง เป็นแขวงหนึ่งของเขตคลองเตย กรุงเทพมหานคร ที่ตั้งและอาณาเขต แขวงพระโขนงตั้งอยู่ทางตะวันออกของเขตคลองเตย มีอาณาเขตติดต่อกับแขวงและตำบลข้างเคียงดังนี้
ทิศเหนือ ติตต่อกับแขวงคลองตันเหนือและแขวงพระโขนงเหนือ (เขตวัฒนา) มีถนนสุขุมวิทเป็นเส้นแบ่งเขต ทิศตะวันออก ติดต่อกับแขวงพระโขนงเหนือ (เขตวัฒนา) และแขวงพระโขนงใต้ (เขตพระโขนง) มีถนนสุขุมวิท ซอยสุขุมวิท 52 (ศิริพร) และแนวเส้นตรงจากซอยสุขุมวิท 52 ไปบรรจบจุดกึ่งกลางแม่น้ำเจ้าพระยาเป็นเส้นแบ่งเขต ทิศใต้ ติดต่อกับตำบลบางกอบัว (อำเภอพระประแดง จังหวัดสมุทรปราการ) มีแนวกึ่งกลางแม่น้ำเจ้าพระยาเป็นเส้นแบ่งเขต ทิศตะวันตก ติดต่อกับแขวงคลองเตยและแขวงคลองตัน (เขตคลองเตย) มีคลองพระโขนง ถนนทางรถไฟสายเก่าปากน้ำ คูน้ำเทพธารินทร์ ซอยแสนสบาย และซอยสุขุมวิท 36 (นภาศัพท์) เป็นเส้นแบ่งเขต 
ถนนทางรถไฟสายเก่าปากน้ำ (อักษรโรมัน: Thanon Thang Rotfai Sai Kao Paknam) เป็นถนนสายสำคัญสายหนึ่งของกรุงเทพมหานครและจังหวัดสมุทรปราการ เดิมเป็นทางเดินรถไฟสายปากน้ำ ต่อมาเมื่อยกเลิกรถไฟสายปากน้ำแล้วจึงปรับเป็นถนนขนาด 2 ช่องทางจราจรสวนทาง มีจุดเริ่มต้นจากถนนพระรามที่ 4 ในพื้นที่แขวงคลองเตย เขตคลองเตย กรุงเทพมหานคร ตัดกับถนนเกษมราษฏร์ แล้วจึงเลียบทางพิเศษเฉลิมมหานคร ตัดกับถนนกล้วยน้ำไทแล้วจึงลอดใต้ทางพิเศษเฉลิมมหานคร จากนั้นจึงข้ามคลองพระโขนงเข้าสู่แขวงพระโขนง เขตคลองเตย ตัดกับซอยสุขุมวิท 50 จากนั้นจึงเข้าพื้นที่แขวงพระโขนงใต้ เขตพระโขนง บริเวณใกล้กับจุดตัดกับถนนอาจณรงค์ซึ่งเป็นถนนเลียบทางรถไฟ แล้วเลียบแม่น้ำเจ้าพระยา ตัดกับซอยสุขุมวิท 62 จากนั้นจึงข้ามคลองบางอ้อเข้าพื้นที่แขวงบางนาเหนือ เขตบางนา ตัดกับถนนสรรพาวุธเข้าพื้นที่แขวงบางนาใต้ แล้วข้ามคลองบางนา ผ่านหน่วยงานทหารเรือ จากนั้นจึงเข้าเขตจังหวัดสมุทรปราการ โดยถนนสายนี้ทำหน้าที่แบ่งเขตระหว่างเขตเทศบาลตำบลสำโรงเหนือ อำเภอเมืองสมุทรปราการ กับเขตเทศบาลเมืองปู่เจ้าสมิงพราย อำเภอพระประแดง จากนั้นจึงข้ามคลองสำโรง แล้วตัดกับถนนปู่เจ้าสมิงพราย สุดท้ายจึงลอดใต้ทางพิเศษกาญจนาภิเษก และไปสิ้นสุดที่ถนนสุขุมวิทกิโลเมตรที่ 22 (บริเวณพิพิธภัณฑ์ช้างเอราวัณ) ที่ทางแยกโค้งเกริก ถนนทางรถไฟสายเก่านี้เดิมเคยเป็น ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 3109 ปัจจุบันอยู่ในความรับผิดชอบของกรุงเทพมหานครและกรมทางหลวงชนบท (ช่วงถนนในเขตจังหวัดสมุทรปราการ) โรงเรียนพระหฤทัยคอนแวนต์ (พห.) (อังกฤษ: Sacred Heart Convent School (S.H.C)) เป็นโรงเรียนหญิงขนาดใหญ่ แต่จะมีนักเรียนชายในระดับอนุบาลถึงประถมด้วย แบ่งเป็นแผนกอนุบาล แผนกประถม แผนกมัธยม และมีการแยก เป็นโปรแกรมสองภาษา หรือ English Program ในส่วนนี้จะเป็นโรงเรียนสหศึกษา ที่มีนักเรียนทั้งหญิงและชายตั้งแต่เกรด 1 ถึงเกรด 12 ภายในโรงเรียน ตึกสิรินเทพ โรงเรียนพระหฤทัยคอนแวนต์ ซุ้มการะเวก เป็นที่นั่งพักผ่อนและทำกิจกรรม (ปัจจุบันไม่มีแล้ว) ลานหทัยนิรมล เป็นสนามบาสขนาดใหญ่ สำหรับทำกิจกรรมมากมาย โดยปกติแล้ว ทุก ๆ เช้านักเรียนจะเข้าแถวบริเวณนั้น ใต้ตึกหนึ่งศตวรรษ คณะพระหฤทัย เป็นที่รับประทานอาหารของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1-4 และที่เข้าแถวในตอนเช้าของนักเรียนแผนก ENGLISH PROGRAM ทางเดินที่นักเรียนเดิน เข้า-ออก ในทุกๆวัน มีตึกเรียนทั้งหมด 5 อาคาร มีโรงอาหาร 2 ที่คือ โรงอาหารจอห์นพอล โรงอาหารเสริมสวัสดิ์ ประวัติโรงเรียน เป็นโรงเรียนแห่งแรกของคณะภคินีพระหฤทัยของพระเยซูเจ้าแห่งกรุงเทพฯ ก่อตั้งโดยอธิการิณีเซราฟิน เดอมารี ในวันที่ 28 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2477 ในระยะแรกจะสอนระดับประถมศึกษาปีที่ 1-4 เท่านั้น ตอนนั้นใช้อาคารที่พักของซิสเตอร์เป็นอาคารเรียน ปี พ.ศ. 2494 โรงเรียนได้รับการรับรองวิทยฐานะเทียบเท่าโรงเรียนรัฐบาล ต่อมาในปี พ.ศ. 2501 มีการสร้างอาคารเรียนขนาด 8x88 เมตรขึ้นเป็นอาคารเรียนหลังแรก ซึ่งต่อมาได้มีการรื้อถอนไปและสร้างอาคารสิรินเทพขึ้นแทน ในปี พ.ศ. 2508 ได้มีการสร้างอาคารเรียน 4 ชั้นชื่อ ตึกดวงหทัยนิรมล และตึกพระแม่เจ้าแห่งสันติภาพขึ้น ปี พ.ศ. 2518 มีการเปิดสอนหลักสูตรอนุบาลขึ้นเป็นครั้งแรก โดนใช้อาคารเรียนเป็นเรือนไม้ทรงปั้นหยา 2 ชั้นเป็นอาคารเรียน โรงเรียนสายน้ำผึ้ง ในพระอุปถัมภ์ สมเด็จพระเจ้าภคินีเธอ เจ้าฟ้าเพชรรัตนราชสุดา สิริโสภาพัณณวดี เป็นโรงเรียนมัธยมศึกษา (หญิงล้วน) ขนาดใหญ่ สังกัดกระทรวงศึกษาธิการ โดยดำริของหม่อมหลวงปิ่น มาลากุล โดยซื้อที่ดินจากมูลนิธิมหามกุฏราชวิทยาลัย จำนวนเนื้อที่ 12 ไร่ 1 งาน 63 ตารางวา ก่อตั้งวันที่ 20 สิงหาคม 2504 ณ เลขที่ 186 ซอยสุขุมวิท 22 ถนนสุขุมวิท แขวงคลองเตย เขตคลองเตย กรุงเทพมหานคร โรงเรียนศรีวิกรม์ (Srivikorn School) เป็นโรงเรียนเอกชนขนาดกลาง ประเภทสามัญศึกษา ตั้งอยู่บนถนนสุขุมวิท แขวงพระโขนง เขตคลองเตย ก่อตั้งขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2506 โดย เฉลิมพันธ์ ศรีวิกรม์ และคุณหญิง ศศิมา ศรีวิกรม์ ปัจจุบันปิดกิจการ ตั้งแต่ปี 2560 พร้อมระบุว่า โรงเรียนฯจะปิดหลักสูตรสามัญ เมื่อสิ้นสุดปีการศึกษา 2559 ในเดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ. 2560 และยืนยันว่าไม่ได้ปรับเป็นโรงแรมหรือคอนโดฯ ยังคงเป็นสถาบันการศึกษาเช่นเดิม เพียงแต่ปรับเปลี่ยนเป็นหลักสูตรนานาชาติ ซึ่งถือว่าเป็นการพัฒนาอีกระดับหนึ่ง สายท่าเรือ–บางนา ทางพิเศษสายท่าเรือ–บางนา เปิดให้บริการ พ.ศ. 2526 ระยะทาง 7.9 กิโลเมตร แนวสายทางเริ่มจากปลายทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 34 บริเวณทางแยกบางนา แล้วมุ่งไปทางทิศตะวันตก ผ่านจุดตัดทางพิเศษฉลองรัชที่ทางแยกต่างระดับสุขุมวิท ช่วงนี้เป็นทางระดับดินขนาด 6 ช่องจราจร และเป็นทางยกระดับตั้งแต่ทางแยกต่างระดับสุขุมวิท 50 ถึงทางแยกต่างระดับท่าเรือ ทางพิเศษสายนี้ประกอบด้วยด่านเก็บค่าผ่านทางจำนวน 4 ด่านคือ ด่านท่าเรือ 2, ด่านอาจณรงค์, ด่านสุขุมวิท 62 และด่านบางนา สายท่าเรือ–ดาวคะนอง ทางพิเศษสายท่าเรือ–ดาวคะนอง เปิดให้บริการ 5 ธันวาคม พ.ศ. 2530 ระยะทาง 10.3 กิโลเมตร แนวสายทางเริ่มจากทางแยกต่างระดับท่าเรือ มีถนนรัชดาภิเษก กับ ถนนพระรามที่ 3 คู่ขนานไปตามทางด่วน ผ่านทางแยกต่างระดับบางโคล่ 
image
Guaranteed Results.
รับรองผลทุกคอร์ส
นักเรียนที่เรียนจบหลักสูตรจากบ้านครูตี๋  กว่า  90%  มีผลการเรียนดีขึ้น
และสามารถสอบเข้าโรงเรียนรัฐบาล  และมหาวิทยาลัยชั้นนำของรัฐได้
จากศิษย์เก่าบ้านครูตี๋กว่า 3,000 คน   ตลอดระยะเวลา 25 ปี 

image
Powered by MakeWebEasy.com
เว็บไซต์นี้มีการใช้งานคุกกี้ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพและประสบการณ์ที่ดีในการใช้งานเว็บไซต์ของท่าน ท่านสามารถอ่านรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว  และ  นโยบายคุกกี้