เรียนพิเศษเขตลาดกระบัง
 
คณิตศาสตร์      ฟิสิกส์       ภาษาอังกฤษ
แคลคูลัส
ความถนัดทางวิศวกรรมศาสตร์
O-Net    A-level    TGAT    TPAT    TPAT3    TCAS67
 

เปิดสอน   ระดับชั้นประถมศึกษา    มัธยมต้น    มัธยมปลาย
และระดับมหาวิทยาลัย

เพื่อการสอบเพิ่มเกรดประจำภาคเรียน
สอบเข้า ม.1     สอบเข้า ม.4
สอบ Admission     และสอบตรงเข้ามหาวิทยาลัย

"เน้นเรียนตัวต่อตัว    และกลุ่มย่อย 4 คน"

สำหรับนักเรียนที่มุ่งมั่นเข้าศึกษาต่อคณะวิศวกรรมศาสตร์ และคณะวิทยาศาสตร์
มหาวิทยาลัย TOP 10 ของประเทศ
 
สอนพิเศษตัวต่อตัว เรียนพิเศษตัวต่อตัว เรียนพิเศษกลุ่มย่อย สอนพิเศษกลุ่มย่อย วิชาคณิตศาสตร์ ฟิสิกส์ วิทยาศาสตร์ ภาษาอังกฤษ ความถนัดทางวิศวกรรม รับรองผล เรียนเพิ่มเกรด ติวเพิ่มเกรด  o-net  ติวสอบเข้า ม.1 ติวสอบเข้า ม.4  onsite เรียนออนไซต์  กวดวิชา ติว ครูคณิต กวดวิชา ติว ครูเลข ครูวิทย์ onsite ครูฟิสิกส์ ครูอังกฤษ กวดวิชา ติว  tutor วิทย์ ติวเตอร์ อาจารย์คณิต อาจารย์เลข อาจารย์วิทย์ อาจารย์ฟิสิกส์ อาจารย์อังกฤษ onsite เรียนออนไซต์ เรียนพิเศษใกล้ฉัน  เรียนพิเศษเลขกับติวเตอร์คนไหนดี? เรียนพิเศษคณิตศาสตร์กับติวเตอร์คนไหนดี? เรียนพิเศษฟิสิกส์กับติวเตอร์คนไหนดี? เรียนพิเศษวิทย์กับติวเตอร์คนไหนดี? วิทย์ เรียนพิเศษใกล้ฉัน เรียนพิเศษภาษาอังกฤษกับติวเตอร์คนไหนดี?  เรียนพิเศษที่ไหนดี? เรียนพิเศษคณิตศาสตร์ที่ไหนดี? เรียนพิเศษเลขที่ไหนดี? เรียนพิเศษวิทยาศาสตร์ที่ไหนดี? เรียนพิเศษฟิสิกส์ที่ไหนดี? เรียนพิเศษภาษาอังกฤษที่ไหนดี?  เรียนพิเศษวิทยาศาสตร์กับติวเตอร์คนไหนดี?  ติวเตอร์ tutor โรงเรียนกวดวิชา Quota โควตา TGAT TPAT Admission วิชาสามัญ GPAX GPA TPAT3 A-level คณิตศาสตร์ประยุกต์1 A-level คณิตศาสตร์ประยุกต์2  A-level วิทยาศาสตร์ประยุกต์ ติวเตอร์  A-level ฟิสิกส์ A-level ภาษาอังกฤษ  TGAT TPAT A-level Mathematics Physics Engineering Science TCAS dek66 dek67 dek68 TCAS66 TCAS67 TCAS68 pat1 pat2 pat3 gat ครูสอนพิเศษ อาจารย์สอนพิเศษ  ติวเตอร์ tutor  โรงเรียนกวดวิชา Quota โควตา TGAT TPAT Admission วิชาสามัญ GPAX GPA TPAT3 A-level คณิตศาสตร์ประยุกต์1 A-level คณิตศาสตร์ประยุกต์2  A-level วิทยาศาสตร์ประยุกต์
อยู่เขตลาดกระบังเรียนพิเศษกับติวเตอร์คนไหนดี เรียนพิเศษคณิตศาสตร์เขตลาดกระบัง เรียนพิเศษฟิสิกส์เขตลาดกระบัง เรียนพิเศษภาษาอังกฤษเขตลาดกระบัง หาติวเตอร์สอนคณิตศาสตร์เขตลาดกระบัง หาติวเตอร์สอนฟิสิกส์เขตลาดกระบัง  หาติวเตอร์สอนภาษาอังกฤษเขตลาดกระบัง ครูสอนคณิตศาสตร์เขตลาดกระบัง ครูสอนฟิสิกส์เขตลาดกระบัง สอนพิเศษตัวต่อตัวเขตลาดกระบัง เรียนพิเศษตัวต่อตัวเขตลาดกระบัง  ติวสอบเข้ามหาวิทยาลัยเขตลาดกระบัง เรียนวิทยาศาสตร์กับครูสอนวิทยาศาสตร์เขตลาดกระบัง ครูเลขเขต ลาดกระบังครูวิทย์เขตลาดกระบัง ติววิทยาศาสตร์เขตลาดกระบัง ติววิทย์เขตลาดกระบัง ติวคณิตเขตลาดกระบัง ติวเลขเขตลาดกระบังหาติวเตอร์สอนพิเศษเขตลาดกระบัง  อยู่เขตลาดกระบัง โรงเรียนกวดวิชาเขตลาดกระบัง     โรงเรียนกวดวิชาเขตลาดกระบัง สอนพิเศษคณิตศาสตร์เขตลาดกระบัง สอนพิเศษวิทยาศาสตร์เขตลาดกระบัง สอนพิเศษภาษาอังกฤษเขตลาดกระบัง สอนพิเศษฟิสิกส์เขตลาดกระบัง เรียนพิเศษคณิตศาสตร์ลาดกระบัง เรียนพิเศษวิทยาศาสตร์เขตลาดกระบัง เรียนพิเศษภาษาอังกฤษเขตลาดกระบัง เรียนพิเศษฟิสิกส์เขตลาดกระบัง
ลาดกระบัง เป็นเขตการปกครองที่มีพื้นที่มากที่สุดเป็นอันดับที่ 2 ของกรุงเทพมหานคร (รองจากเขตหนองจอก) สภาพโดยทั่วไปเป็นท้องทุ่ง มีแหล่งชุมชนหนาแน่นทางทิศใต้และมีเขตนิคมอุตสาหกรรมทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือของพื้นที่ เขตลาดกระบังตั้งอยู่ทางทิศตะวันออกของกรุงเทพมหานคร มีอาณาเขตติดต่อกับเขตการปกครองข้างเคียงเรียงตามเข็มนาฬิกาดังนี้ ทิศเหนือ ติดต่อกับเขตมีนบุรีและเขตหนองจอก มีคลองลำนายโส คลองสองต้นนุ่น ลำรางคอวัง ถนนร่มเกล้า แนวแบ่งเขตการปกครองระหว่างเขตมีนบุรีกับเขตลาดกระบัง ลำรางศาลเจ้าพ่อต่วน ลำรางตาเสือ แนวคันนาผ่านถนนคุ้มเกล้า ลำรางตาทรัพย์ คลองบึงใหญ่คลองลำกอไผ่ คลองลำมะขาม คลองลำปลาทิว (คลองขุดใหม่) คลองลำพะอง คลองกระทุ่มล้ม คลองลำตาอิน และคลองลำตาแฟงเป็นเส้นแบ่งเขต ทิศตะวันออก ติดต่อกับอำเภอเมืองฉะเชิงเทรา (จังหวัดฉะเชิงเทรา) มีคลองหลวงแพ่งและคลองประเวศบุรีรมย์เป็นเส้นแบ่งเขต ทิศใต้ ติดต่อกับอำเภอบางบ่อ อำเภอบางเสาธง และอำเภอบางพลี (จังหวัดสมุทรปราการ) มีคลองกาหลงและแนวแบ่งเขตการปกครองระหว่างกรุงเทพมหานครกับจังหวัดสมุทรปราการเป็นเส้นแบ่งเขต ทิศตะวันตก ติดต่อกับเขตประเวศและเขตสะพานสูง มีคลองตาพุก คลองแม่จันทร์ คลองลำอ้อตัน (ลำบึงขวาง) และคลองลาดบัวขาวเป็นเส้นแบ่งเขต เดิมเขตลาดกระบังเป็นพื้นที่การปกครองของเมืองมีนบุรีซึ่งเป็นเมือง (จังหวัด) หนึ่งในมณฑลกรุงเทพ มีชื่อเรียกว่า อำเภอแสนแสบ ต่อมาใน พ.ศ. 2470 ได้เปลี่ยนชื่อเป็น อำเภอลาดกระบัง เพื่อให้ตรงกับชื่อตำบลที่ตั้งที่ว่าการอำเภอ และใน พ.ศ. 2474 จังหวัดมีนบุรีถูกยุบมารวมกับจังหวัดพระนคร อำเภอลาดกระบังจึงย้ายมาขึ้นกับจังหวัดพระนครด้วย ในวันที่ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2481 กระทรวงมหาดไทยได้ยุบอำเภอลาดกระบังลงเป็น กิ่งอำเภอลาดกระบัง ขึ้นกับอำเภอมีนบุรี เนื่องจากในขณะนั้นมีปริมาณงานไม่มากนักและมีจำนวนประชากรน้อย จนกระทั่งในวันที่ 6 มีนาคม พ.ศ. 2500 จึงได้รับการยกฐานะขึ้นเป็น อำเภอลาดกระบัง อีกครั้ง โดยได้โอนตำบลแสนแสบไปขึ้นกับอำเภอมีนบุรี และแบ่งพื้นที่บางส่วนของตำบลทับยาว มาจัดตั้งเป็นตำบลขุมทองใน พ.ศ. 2504 ต่อมามีประกาศคณะปฏิวัติรวมจังหวัดพระนครกับจังหวัดธนบุรีเข้าด้วยกันเป็นนครหลวงกรุงเทพธนบุรีและเปลี่ยนรูปแบบเป็นกรุงเทพมหานครใน พ.ศ. 2515 อำเภอลาดกระบังจึงเปลี่ยนแปลงฐานะเป็น เขตลาดกระบัง ตั้งแต่นั้น ทางสายหลักในพื้นที่เขตลาดกระบัง ได้แก่ ถนนมอเตอร์เวย์ ตั้งแต่คลองแม่จันทร์จนถึงสุดเขตกรุงเทพมหานคร ถนนร่มเกล้า ตั้งแต่แยกลาดกระบังจนถึงทางเข้าสนามบินสุวรรณภูมิ ถนนกิ่งแก้ว ตั้งแต่แยกกิ่งแก้วจนถึงสุดเขตกรุงเทพมหานคร ถนนลาดกระบัง ตั้งแต่คลองตาพุกจนถึงคลองหัวตะเข้ ถนนสุวรรณภูมิ ถนนเจ้าคุณทหาร ตั้งแต่ทางแยกต่างระดับเจ้ากรีฑาจนถึงแยกเจ้าคุณทหาร ถนนฉลองกรุง ตั้งแต่ถนนลาดกระบังจนถึงคลองลำมะขาม ถนนหลวงแพ่ง ตั้งแต่คลองหัวตะเข้จนถึงคลองกาหลง (สุดเขตกรุงเทพมหานคร) ถนนขุมทอง-ลำต้อยติ่ง (หลวงแพ่ง 5) ส่วนทางสายรองและทางลัด ได้แก่ ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 3701 (คู่ขนานมอเตอร์เวย์ด้านซ้าย) ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 3702 (คู่ขนานมอเตอร์เวย์ด้านขวา) ถนนเคหะร่มเกล้าและซอยร่มเกล้า 24 (การเคหะร่มเกล้า) ถนนพัฒนาชนบท 1 ถนนคุ้มเกล้า (คลองตาเสือ / ลำปลาทิว 3) ถนนไอ ซี ดี (สถานีบรรจุและแยกสินค้ากล่อง) ถนนเลียบคลองมอญ ถนนหลวงพรตพิทยพยัต ถนนเชื่อมคลองมอญ ถนนประชาพัฒนา ถนนสารีบุตร ถนนสารีบุตร-ทับยาว ถนนทับยาว ซอยลาดกระบัง 54 (สุวรรณ 5) ซอยร่มเกล้า 25 (วัดบำรุงรื่น) ถนนประชาทร ขนส่งมวลชนทางราง สถานีลาดกระบัง ของ รถไฟฟ้าเชื่อมท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ สถานีรถไฟลาดกระบัง ของทางรถไฟสายตะวันออก สถานที่สำคัญ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง สถานีบรรจุและแยกสินค้ากล่อง ลาดกระบัง สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง มหาวิทยาลัยกรุงเทพสุวรรณภูมิ โรงเรียนเทพศิรินทร์ร่มเกล้า โรงเรียนพรตพิทยพยัต โรงเรียนพร้อม โรงเรียนรัตนโกสินทร์สมโภชลาดกระบัง โรงเรียนวัดลาดกระบัง โรงเรียนวัดปากบึง โรงเรียนวัดลานบุญ วัดลาดกระบัง วัดลานบุญ วัดสังฆราชา วัดทิพพาวาส โรงเรียนแดงเป้า (สิงสุขบูรณะ) วัดปลูกศรัทธา วัดราชโกษา วัดขุมทอง สวนพระนคร ตลาดหัวตะเข้ นิคมอุตสาหกรรมลาดกระบัง สวนนกธรรมชาติหลังนิคมอุตสาหกรรมลาดกระบัง สถานีบรรจุและแยกสินค้ากล่อง ลาดกระบัง โรงเรียนมาเรียลัย โรงเรียนวัดราชโกษา โรงเรียนวัดขุมทอง ตลาดเทิดไท โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ สุวรรณภูมิ
สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง (อังกฤษ: King Mongkut's Institute of Technology Ladkrabang; อักษรย่อ: สจล. – KMITL) เป็นมหาวิทยาลัยในกำกับของรัฐ ก่อตั้งด้วยความช่วยเหลือของรัฐบาลญี่ปุ่น (มหาวิทยาลัยโตไก) โดยเน้นการเรียนการสอนด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ตั้งอยู่เขตลาดกระบัง กรุงเทพมหานคร ประวัติ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง เป็นมหาวิทยาลัยในกำกับของรัฐ ตามพระราชบัญญัติสถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง พ.ศ. 2551 โดยมีวัตถุประสงค์ เพื่อให้การศึกษา การค้นคว้าวิจัย และการพัฒนาด้านวิทยาศาสตร์ และ เทคโนโลยีเพื่อความก้าวหน้า ทางอุตสาหกรรม และ เศรษฐกิจของประเทศเดิมที สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้า ตั้งขึ้นตามพระราชบัญญัติ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้า พ.ศ. 2514 ด้วยการรวม วิทยาลัยโทรคมนาคมนนทบุรี วิทยาลัยเทคนิคพระนครเหนือ และวิทยาลัยเทคนิคธนบุรี เข้าด้วยกัน โดยแต่ละแห่งมีฐานะเป็นวิทยาเขต วิทยาลัยโทรคมนาคมนนทบุรี เป็นสถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าวิทยาเขตนนทบุรี และในปีเดียวกันนั้นได้ย้ายไปที่ อำเภอลาดกระบัง เป็นวิทยาเขตเจ้าคุณทหารลาดกระบัง สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง ประกอบด้วยพระนาม "พระจอมเกล้า" ซึ่งได้รับพระมหากรุณาธิคุณโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมพระราชทานตามพระบรมนามาภิไธย แห่งพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว และมีพระบรมราชานุญาต ให้อัญเชิญตรา "พระมหามงกุฎ" มาเป็นสัญลักษณ์แห่งสถาบันฯ ด้วย นับเป็นสิ่งอันศักดิ์สิทธิ์ และเป็นมหามงคลยิ่งส่วนคำว่า "เจ้าคุณทหาร" นั้น มีไว้เพื่อเป็นอนุสรณ์แด่ท่านเจ้าพระยาสุรวงศ์ไวยวัฒน์ (วร บุนนาค) หรือที่เรียกกันทั่วไปว่า "เจ้าคุณทหาร" ตามที่ ท่านเลี่ยม พรตพิทยพยัต ทายาทของท่านได้แจ้งความประสงค์ไว้ในการบริจาคที่ดิน อันเป็นที่ตั้งของสถาบันฯ ในปัจจุบัน การบริจาคที่ดิน 1,041 ไร่ ให้กระทรวงศึกษาธิการ ในสมัยที่หม่อมหลวงปิ่น มาลากุล เป็นปลัดกระทรวง เพื่อจัดตั้งวิทยาลัยเจ้าคุณทหารเป็นอนุสรณ์แด่ท่านเจ้าคุณทหาร และเพื่อสร้างสถาบันฯ นั้น มี เขียน ขำปัญญา ครูใหญ่คนแรกของโรงเรียนพรตพิทยพยัต เป็นผู้ประสานงาน ลำดับเหตุการณ์ ลานกิจกรรมภายในอาคารเจ้าคุณทหาร คณะเทคโนโลยีการเกษตร สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง หรือที่นิยมเรียกกันทั่วไปว่า "พระจอมเกล้าลาดกระบัง" มีประวัติความเป็นมาและเหตุการณ์สำคัญ ดังนี้ พ.ศ. 2503 - ก่อตั้ง ศูนย์ฝึกโทรคมนาคมนนทบุรี สังกัด กองโรงเรียนพาณิชย์ กรมอาชีวศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. 2507 - ศูนย์ฝึกโทรคมนนทบุรี ได้ยกฐานะเป็น วิทยาลัยโทรคมนาคมนนทบุรี พ.ศ. 2510 - วิทยาลัยโทรคมนาคมนนทบุรี รับนักศึกษาจาก การสอบคัดเลือกร่วมกับ สภาการศึกษาแห่งชาติ วิธีสอบคัดเลือกรวมเพื่อรับนักศึกษาร่วมกับมหาวิทยาลัยอื่น ๆ (การสอบเอนทรานซ์) เป็นครั้งแรก พ.ศ. 2513 - โรงเรียนเกษตรกรรมนครปฐม ได้ย้ายมาดำเนินการที่โรงเรียนเกษตรกรรมเจ้าคุณทหารลาดกระบัง พระนคร พ.ศ. 2514 - วิทยาลัยโทรคมนาคมนนทบุรี ได้มีสถานะเป็น วิทยาเขตนนทบุรี ของ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้า และย้ายที่ตั้งจาก นนทบุรี มาอยู่ ลาดกระบัง พ.ศ. 2515 - วิทยาลัยโทรคมนาคมนนทบุรี ยกฐานะเป็นคณะวิศวกรรมศาสตร์ สังกัดสถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้า วิทยาเขตเจ้าคุณทหารลาดกระบัง - วิทยาลัยวิชาการก่อสร้าง โอนมาสังกัดสถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้า วิทยาเขตเจ้าคุณทหารลาดกระบัง และยกฐานะเป็น คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ พ.ศ. 2517 - โรงเรียนเกษตรกรรมเจ้าคุณทหารลาดกระบัง ได้รับการสถาปนาเป็น วิทยาลัยเกษตรกรรมเจ้าคุณทหาร พ.ศ. 2517 - สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้า ได้โอนสังกัดจากกระทรวงศึกษาธิการมาสังกัดทบวงมหาวิทยาลัย พ.ศ. 2518 - ก่อสร้างอาคารหอประชุมใหญ่ อาคารอนุสรณ์ อาคารห้องสมุด อาคารปฏิบัติการโทรคมนาคม และอาคารยิมเนเซี่ยม ด้วยความช่วยเหลือของรัฐบาลญี่ปุ่น พ.ศ. 2520 - สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้า วิทยาเขตเจ้าคุณทหารลาดกระบัง ได้จัดตั้งคณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม และวิทยาศาสตร์ขึ้น เพื่อผลิตบัญฑิตทางด้านครูอาชีวศึกษา สำหรับวิทยาลัยเทคนิคและอาชีวศึกษาต่างๆ และให้การศึกษา การค้นคว้าวิจัยทางวิทยาศาสตร์ พ.ศ. 2522 - วิทยาลัยเกษตรกรรมเจ้าคุณทหาร ได้โอนจากกระทรวงศึกษาธิการ มาสังกัดสถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้า วิทยาเขตเจ้าคุณทหารลาดกระบังและยกฐานะเป็น คณะเทคโนโลยีการเกษตร พ.ศ. 2524 - ได้จัดตั้งสำนักวิจัยและบริการคอมพิวเตอร์ พ.ศ. 2527 - ก่อสร้างศูนย์เรียน "สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ" อันประกอบด้วยอาคารบรรยายรวม อาคารเรียนและ ปฏิบัติการ อาคารศูนย์สารสนเทศ อาคารสันทนาการ อาคารสำนักอธิการบดี หอพักนักศึกษา ชาย-หญิง และสระว่ายน้ำ ด้วยความช่วยเหลือของรัฐบาลญี่ปุ่น มูลค่า 480 ล้านบาท และเปิดใช้ตั้งแต่เดือนสิงหาคม พ.ศ. 2529 พ.ศ. 2528 - สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้า วิทยาเขตเจ้าคุณทหารลาดกระบังได้มีฐานะเป็นมหาวิทยาลัยอิสระ ตามพระราชบัญญัติสถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง พ.ศ. 2528 และมีชื่อเต็มว่า "สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง" หรือเรียกสั้นๆ ว่า "พระจอมเกล้าลาดกระบัง" - ได้จัดตั้งบัณฑิตวิทยาลัย พ.ศ. 2530 - 16 มิถุนายน พ.ศ. 2530 พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร เสด็จพระราชดำเนินพร้อมด้วยสมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี และสมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ มาทรงประกอบพิธีเปิดพระบรมราชานุสาวรีย์พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ณ อุทยานพระจอมเกล้า และทรงเปิดงานแสดงทาง วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี "พระจอมเกล้าลาดกระบังนิทรรศการปี '3๐" พ.ศ. 2532 - ได้จัดตั้งคณะวิทยาศาสตร์โดยแยกออกจาก คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรมและวิทยาศาสตร์ พ.ศ. 2539 - 27 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2539 สถาปนาคณะเทคโนโลยีสารสนเทศ พ.ศ. 2563 - ครบรอบ 60 ปี การสถาปนาสถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง ภายใต้แนวคิด “KMITL GO BEYOND THE LIMIT” สัญลักษณ์ประจำสถาบัน พระมหามงกุฎ ตราประจำมหาวิทยาลัย ดอกแคแสด ดอกไม้ประจำสถาบันฯ พระมหามงกุฎ มีพระบรมราชานุญาต ให้อัญเชิญตรา "พระมหามงกุฎ" มาเป็นสัญลักษณ์แห่งสถาบันฯ ตามนาม "พระจอมเกล้า" ซึ่งได้รับพระมหากรุณาธิ คุณโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมพระราชทานตามพระบรมนามาภิไธย แห่งพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ดอกไม้ประจำสถาบัน คือ ดอกแคแสด สีประจำสถาบัน คือ สีแสด (ซึ่งเป็นสีประจำรัชกาลที่ 4)  อัตลักษณ์สถาบัน สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบังได้สร้างอัตลักษณ์ประจำสถาบันขึ้นมา เพื่อเป็นแนวปฏิบัติที่เป็นไปในทิศทางเดียวกันขององค์กรและนักศึกษาภายในสถาบัน โดยมีไฟล์สำหรับดาวน์โหลดอยู่ สำหรับการใช้งานโลโก้และตราสถาบัน ได้กำหนดไว้ 3 รูปแบบด้วยกัน คือ โลโก้หลัก ประกอบไปด้วยตราประจำสถาบันท้างด้านซ้าย โลโก้สถาบันและชื่อสถาบันทางด้านขวาที่มีการตัดคำอย่างสวยงาม มีทั้งรูปแบบของภาษาไทยและภาษาอังกฤษ โลโก้แนวนอน ประกอบด้วยตราประจำสถาบันทางด้านซ้าย และชื่อของสถาบันทางด้านขวา บรรทัดบนเป็นภาษาไทย และบรรทัดล่างเป็นภาษาอังกฤษ โลโก้ย่อย เป็นโลโก้ที่ถูกออกแบบมาเพื่อใช้งานในโอกาสพิเศษต่าง ๆ อาทิ โลโก้ KMITL โลโก้ I Love KMITL สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง กำหนดใช้ใช้ฟอนต์ของสถาบันในการประกอบการใช้งานต่าง ๆ เพื่อแสดงถึงอัตลักษณ์ของหน่วยงาน โดยฟอนต์ชื่อว่า KMITL GO และ KMITL 2020
image
Guaranteed Results.
รับรองผลทุกคอร์ส
นักเรียนที่เรียนจบหลักสูตรจากบ้านครูตี๋  กว่า  90%  มีผลการเรียนดีขึ้น
และสามารถสอบเข้าโรงเรียนรัฐบาล  และมหาวิทยาลัยชั้นนำของรัฐได้
จากศิษย์เก่าบ้านครูตี๋กว่า 3,000 คน   ตลอดระยะเวลา 25 ปี 
image
Powered by MakeWebEasy.com
เว็บไซต์นี้มีการใช้งานคุกกี้ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพและประสบการณ์ที่ดีในการใช้งานเว็บไซต์ของท่าน ท่านสามารถอ่านรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว  และ  นโยบายคุกกี้