เรียนพิเศษเขตหนองแขม
 
คณิตศาสตร์      ฟิสิกส์       ภาษาอังกฤษ
แคลคูลัส
ความถนัดทางวิศวกรรมศาสตร์
O-Net    A-level    TGAT    TPAT    TPAT3    TCAS67
 

เปิดสอน   ระดับชั้นประถมศึกษา    มัธยมต้น    มัธยมปลาย
และระดับมหาวิทยาลัย

เพื่อการสอบเพิ่มเกรดประจำภาคเรียน
สอบเข้า ม.1     สอบเข้า ม.4
สอบ Admission     และสอบตรงเข้ามหาวิทยาลัย

"เน้นเรียนตัวต่อตัว    และกลุ่มย่อย 4 คน"

สำหรับนักเรียนที่มุ่งมั่นเข้าศึกษาต่อคณะวิศวกรรมศาสตร์ และคณะวิทยาศาสตร์
มหาวิทยาลัย TOP 10 ของประเทศ
 
โรงเรียนกวดวิชาเขตหนองแขม สอนพิเศษคณิตศาสตร์เขตหนองแขม สอนพิเศษวิทยาศาสตร์เขตหนองแขม สอนพิเศษภาษาอังกฤษเขตหนองแขม สอนพิเศษฟิสิกส์เขตหนองแขม สอนพิเศษตัวต่อตัว เรียนพิเศษตัวต่อตัว เรียนพิเศษกลุ่มย่อย สอนพิเศษกลุ่มย่อย วิชาคณิตศาสตร์ ฟิสิกส์ วิทยาศาสตร์ ภาษาอังกฤษ ความถนัดทางวิศวกรรม รับรองผล เรียนเพิ่มเกรด ติวเพิ่มเกรด  o-net  ติวสอบเข้า ม.1 ติวสอบเข้า ม.4  onsite เรียนออนไซต์  กวดวิชา ติว ครูคณิต กวดวิชา ติว ครูเลข ครูวิทย์ onsite ครูฟิสิกส์ ครูอังกฤษ กวดวิชา ติว  tutor วิทย์ ติวเตอร์ อาจารย์คณิต อาจารย์เลข อาจารย์วิทย์ อาจารย์ฟิสิกส์ อาจารย์อังกฤษ onsite เรียนออนไซต์ เรียนพิเศษใกล้ฉัน  เรียนพิเศษเลขกับติวเตอร์คนไหนดี? เรียนพิเศษคณิตศาสตร์กับติวเตอร์คนไหนดี? เรียนพิเศษฟิสิกส์กับติวเตอร์คนไหนดี? เรียนพิเศษวิทย์กับติวเตอร์คนไหนดี? วิทย์ เรียนพิเศษใกล้ฉัน เรียนพิเศษภาษาอังกฤษกับติวเตอร์คนไหนดี?  เรียนพิเศษที่ไหนดี? เรียนพิเศษคณิตศาสตร์ที่ไหนดี? เรียนพิเศษเลขที่ไหนดี? เรียนพิเศษวิทยาศาสตร์ที่ไหนดี? เรียนพิเศษฟิสิกส์ที่ไหนดี? เรียนพิเศษภาษาอังกฤษที่ไหนดี?  เรียนพิเศษวิทยาศาสตร์กับติวเตอร์คนไหนดี?  ติวเตอร์ tutor โรงเรียนกวดวิชา Quota โควตา TGAT TPAT Admission วิชาสามัญ GPAX GPA TPAT3 A-level คณิตศาสตร์ประยุกต์1 A-level คณิตศาสตร์ประยุกต์2  A-level วิทยาศาสตร์ประยุกต์ ติวเตอร์  A-level ฟิสิกส์ A-level ภาษาอังกฤษ  TGAT TPAT A-level Mathematics Physics Engineering Science TCAS dek66 dek67 dek68 TCAS66 TCAS67 TCAS68 pat1 pat2 pat3 gat ครูสอนพิเศษ อาจารย์สอนพิเศษ  ติวเตอร์ tutor  โรงเรียนกวดวิชา Quota โควตา TGAT TPAT Admission วิชาสามัญ GPAX GPA TPAT3 A-level คณิตศาสตร์ประยุกต์1 A-level คณิตศาสตร์ประยุกต์2  A-level วิทยาศาสตร์ประยุกต์
อยู่เขตหนองแขมเรียนพิเศษกับติวเตอร์คนไหนดี เรียนพิเศษคณิตศาสตร์เขตหนองแขม เรียนพิเศษฟิสิกส์เขตหนองแขม เรียนพิเศษภาษาอังกฤษเขตหนองแขม หาติวเตอร์สอนคณิตศาสตร์เขตหนองแขม หาติวเตอร์สอนฟิสิกส์เขตหนองแขม  หาติวเตอร์สอนภาษาอังกฤษเขตหนองแขม ครูสอนคณิตศาสตร์เขตหนองแขม ครูสอนฟิสิกส์เขตหนองแขม สอนพิเศษตัวต่อตัวเขตหนองแขม เรียนพิเศษตัวต่อตัวเขตหนองแขม ติวสอบเข้ามหาวิทยาลัยเขตหนองแขม เรียนวิทยาศาสตร์กับครูสอนวิทยาศาสตร์เขตหนองแขม ครูเลขเขตหนองแขม ครูวิทย์เขตหนองแขม ติววิทยาศาสตร์เขตหนองแขม ติววิทย์เขตหนองแขม ติวคณิตเขตหนองแขม ติวเลขเขตหนองแขมหาติวเตอร์สอนพิเศษเขตหนองแขม  อยู่เขตหนองแขม โรงเรียนกวดวิชาเขตหนองแขม
หนองแขม เป็นหนึ่งในห้าสิบเขตของกรุงเทพมหานคร สภาพพื้นที่โดยทั่วไปเป็นที่ราบลุ่ม สภาพเศรษฐกิจดั้งเดิมขึ้นอยู่กับการเกษตรกรรม แต่ปัจจุบันสภาพพื้นที่เปลี่ยนแปลงไป เนื่องจากชุมชนเมืองขยายตัวจากพื้นที่ชั้นใน มีผู้ย้ายถิ่นเข้ามาอยู่อาศัยและประกอบอาชีพมากขึ้น พื้นที่การเกษตรจึงเริ่มถูกเปลี่ยนแปลงเป็นสถานที่ราชการ สถานศึกษา โรงพยาบาล สาธารณสุข สถานีโทรทัศน์ โรงงานอุตสาหกรรม อาคารพาณิชย์ และหมู่บ้านจัดสรร ที่ตั้งและอาณาเขต เขตหนองแขมตั้งอยู่บนฝั่งธนบุรี (ทางตะวันตกสุดของกรุงเทพมหานคร) มีอาณาเขตติดต่อกับเขตการปกครองข้างเคียง เรียงตามเข็มนาฬิกา ดังนี้ ทิศเหนือ ติดต่อกับเขตทวีวัฒนา มีคลองบางไผ่เป็นเส้นแบ่งเขต ทิศตะวันออก ติดต่อกับเขตบางแค มีคลองทวีวัฒนา ถนนเพชรเกษม ซอยเพชรเกษม 69 (อินทาปัจ) และถนนบางบอน 3 เป็นเส้นแบ่งเขต ทิศใต้ ติดต่อกับเขตบางบอนและอำเภอกระทุ่มแบน (จังหวัดสมุทรสาคร) มีคลองหนามแดงเป็นเส้นแบ่งเขต ทิศตะวันตก ติดต่อกับอำเภอกระทุ่มแบน (จังหวัดสมุทรสาคร) และอำเภอสามพราน (จังหวัดนครปฐม) มีคลองสี่วา (คลองตากล่อม) คลองภาษีเจริญ คลองศรีสำราญ แนวแบ่งเขตการปกครองกรุงเทพมหานครกับจังหวัดสมุทรสาคร และแนวแบ่งเขตการปกครองกรุงเทพมหานครกับจังหวัดนครปฐมเป็นเส้นแบ่งเขต
ที่มาของชื่อเขต บริเวณแขวงหนองแขมในอดีตมีสภาพเป็นที่ราบลุ่ม บางแห่งมีน้ำท่วมขังตลอด (หนองน้ำ) และมีต้นแขม (หญ้าขนาดสูงชนิดหนึ่ง) ขึ้นอยู่หนาแน่นเป็นพง ก่อนหน้านั้นเคยมีชื่อเรียกว่า "หนองน้ำแดง" แต่ถูกลืมไปแล้ว พระวินัยธร (คำ) เจ้าอาวาสวัดเชิงเลน ตำบลบางช้าง อำเภอสามพราน เมืองนครปฐม ได้สร้างวัดขึ้นที่ริมหนองน้ำแห่งหนึ่งและตั้งชื่อวัดว่า "วัดหนองแขม" ตามลักษณะของพื้นที่ ส่วนชาวบ้านก็ได้ขุดบ่อไว้ริมหนองเพื่ออาศัยใช้น้ำจืดและเรียกว่า "บ่อหนองแขม" ประวัติ บริเวณหนองแขมซึ่งมีคลองภาษีเจริญตัดผ่านมีความเจริญและมีผู้คนเพิ่มขึ้น ใน พ.ศ. 2445 พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวโปรดเกล้าฯ ให้จัดตั้ง อำเภอหนองแขม ขึ้นตรงต่อกระทรวงนครบาล เนื่องจากทรงเล็งเห็นว่า พื้นที่บริเวณดังกล่าวน่าจะเป็นศูนย์กลางการพัฒนาในย่านฝั่งตะวันตกของพระนครได้ โดยอำเภอหนองแขมสมัยนั้นแบ่งออกเป็น 4 ตำบล ได้แก่ ตำบลหนองแขม ตำแหน่งกำนันมีชื่อว่าขุนขจรหนองแขมเขตร์, ตำบลหนองค้างพลู มีขุนประเทศหนองแขมขันธ์เป็นกำนัน, ตำบลหลักหนึ่ง มีขุนหนองแขมกนิษฐศรเป็นกำนัน และตำบลหลักสอง มีขุนภิบาลเขตร์นครเป็นกำนัน ตั้งที่ว่าการอำเภออยู่หน้าโรงจับกัง (บ้านพักคนงาน) ของโรงสีเหลียงเฮงฮวดในปัจจุบัน จนถึง พ.ศ. 2452 จึงย้ายไปตั้งริมคลองภาษีเจริญฝั่งเหนือ บริเวณปากคลองมหาศร หมู่ที่ 5 ตำบลหนองแขม ครั้นใน พ.ศ. 2472 ทางการได้ลดฐานะอำเภอหนองแขมลงเป็น กิ่งอำเภอหนองแขม ขึ้นกับอำเภอภาษีเจริญ จังหวัดธนบุรี กระทรวงมหาดไทยได้ยกฐานะท้องที่ริมคลองภาษีเจริญ (บางส่วน) ของตำบลหนองแขมขึ้นเป็นสุขาภิบาลหนองแขม เมื่อสภาพท้องที่มีความเจริญมากขึ้น จึงมีพระราชกฤษฎีกาให้จัดตั้ง อำเภอหนองแขม ขึ้นอีกครั้ง ประกอบด้วยเขตการปกครองย่อย 3 ตำบล เนื่องจากตำบลหลักหนึ่งซึ่งภายหลังเปลี่ยนชื่อเป็นตำบลบางแคนั้น ยังคงอยู่ในการปกครองของอำเภอภาษีเจริญ จนกระทั่งมีประกาศคณะปฏิวัติให้รวมจังหวัดธนบุรีกับจังหวัดพระนครเข้าด้วยกันเป็นนครหลวงกรุงเทพธนบุรีใน พ.ศ. 2514 และเปลี่ยนรูปแบบเป็นกรุงเทพมหานครใน พ.ศ. 2515 โดยยุบเลิกการปกครองท้องถิ่นแบบสุขาภิบาล รวมทั้งเปลี่ยนคำเรียกเขตการปกครองใหม่ อำเภอหนองแขมจึงได้รับการเปลี่ยนแปลงฐานะเป็น เขตหนองแขม และใน พ.ศ. 2521 ได้ย้ายที่ว่าการเขตจากปากคลองมหาศร มาตั้งที่หมู่ที่ 7 แขวงหนองค้างพลู  กระทรวงมหาดไทยได้แยกแขวงหลักสอง (เฉพาะทางฟากตะวันออกของซอยเพชรเกษม 69 และถนนบางบอน 3) ไปจัดตั้งเป็นเขตบางแค ส่วนพื้นที่แขวงหลักสองเดิม (ที่อยู่ทางฟากตะวันตก) ถูกรวมเป็นส่วนหนึ่งของแขวงหนองค้างพลูและแขวงหนองแขม การคมนาคม ถนนทวีวัฒนา ทางสายหลักในพื้นที่เขตหนองแขม ได้แก่ ถนนเพชรเกษม ตั้งแต่คลองทวีวัฒนาจนสุดเขตกรุงเทพมหานคร ถนนทวีวัฒนา ถนนพุทธมณฑล สาย 3 (เพชรเกษม 104) ถนนมาเจริญ และ ถนนบางบอน 5 (เพชรเกษม 81 รวมถนนหนองแขม-บางบอน) ถนนบางบอน 3 ส่วนทางสายรองและทางลัด ได้แก่ ถนนเลียบคลองภาษีเจริญฝั่งเหนือ
ถนนเลียบคลองภาษีเจริญฝั่งใต้ ถนนหนองแขม-วัดศรีนวล ถนนบางบอน 4 ถนนบางบอนสายเดิม ซอยเพชรเกษม 69 (อินทาปัจ) ซอยเพชรเกษม 77 (จัดสรรมหาดไทย) ซอยเพชรเกษม 114 ซอยพุทธมณฑล สาย 3 ซอย 2
สถานที่สำคัญ ศูนย์ศึกษา และแหล่งท่องเที่ยว วัดหนองแขม วัดหนองแขมสร้างขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2413 เพื่อเป็นที่บรรจุอัฐิธาตุของบุพการี สถานศึกษาและบำเพ็ญบุญของชาวบ้านหัวย่าน จังหวัดนครปฐม ที่อพยพมาอยู่แถบหนองแขม ตั้งชื่อว่า "วัดหนองแขม" เนื่องจากมีหนองน้ำปกคลุมด้วยต้นแขมอยู่ใกล้วัด และต่อมากลายเป็นชื่อตำบลหนองแขม สิ่งสำคัญในวัดหนองแขมได้แก่ พระมหากัจจายนะ (หลวงพ่อโต) รูปหล่อพระครูวิทยาวรคุณ (หลวงพ่อพร) ขนาดเท่าองค์จริง ซึ่งคณะศิษยานุศิษย์ได้ร่วมกันสร้างขึ้นเมื่อ พ.ศ. 2468 และยังมีรอยพระพุทธบาทจำลองประดิษฐานในมณฑป โดยมีการจัดงานปิดทองรอยพระพุทธบาทจำลองนี้ในช่วงเดือนสามของทุกปี วัดไผ่เลี้ยง วัดไผ่เลี้ยงสร้างขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2526 โดยมีแม่เลี้ยง และแม่ไผ่ เป็นผู้ถวายที่ดินเพื่อสร้างวัด เดิมที่เป็นสำนักปฏิบัติธรรม ซึ่งมีพระมหายงยุทธ อุปคุตฺโต (สุขเงิน) เป็นประธานสงฆ์ต่อมาเป็นเจ้าอาวาสจนกระทั่งปัจจุบัน วัดศรีนวลธรรมวิมล ในเดือนตุลาคม พ.ศ. 2523 พระครูสุนทรธรรมวิมล หรือ หลวงพ่อทวีศักดิ์ ชุตินธโร ได้เดินทางมาปักกลดใต้ต้นไม้ริมหนองน้ำใหญ่ในอำเภอหนองแขมเพื่อปฏิบัติภาวนาบำเพ็ญธรรม ต่อมานายธนิตย์ มาศรีนวล ชาวบ้านในละแวกนั้นมีจิตศรัทธาบริจาคที่ดินให้จำนวน 44 ไร่ โดยแบ่งเป็นเนื้อที่ของวัด 26 ไร่ 3 งาน 45 ตารางวา เป็นที่สร้างวัดชื่อ "วัดศรีนวลธรรมวิมล" ตามชื่อสกุลของผู้บริจาค โดยที่ดินส่วนหนึ่งได้ก่อสร้างเป็นโรงเรียนวัดศรีนวลธรรมวิมล ปัจจุบัน พระครูสุนทรธรรมวิมล เป็นเจ้าอาวาสวัดศรีนวลธรรมวิมล และเป็นผู้ที่ได้ชื่อว่า เป็นพระนักพัฒนารูปหนึ่งที่ทำให้พื้นที่ชายขอบของอำเภอหนองแขมเริ่มมีความเปลี่ยนแปลงและเจริญมากขึ้น ท่านเป็นผู้บริจาคและก่อสร้างโรงพยาบาลหลวงพ่อทวีศักดิ์ ชุตินธโรอุทิศ เพื่อให้บริการแก่ประชาชนในบริเวณใกล้เคียง และได้บริจาคที่ดินและก่อสร้างโรงเรียนฝึกอาชีพ กรุงเทพมหานครเพื่อสร้างเสริมทักษะให้กับบุคคลทั่วไปให้มีอาชีพทำกินอย่างสุจริต วัดทองเนียม วัดทองเนียม แขวงหนองแขม เดิมที่ดินผืนนี้เป็นพื้นที่ทำสวนและทำบ่อกุ้งมาก่อน โดยมีนายม้าน-นางเหว่า ทองเนียม เจ้าของที่ดิน ได้มีความประสงค์จะอุทิศที่ดินดังกล่าวทำเป็นสาธารณประโยชน์ต่อพระพุทธศาสนาและสังคม จึงได้อุทิศที่ดินผืนนี้เพื่อจัดสร้างเป็นวัดในบวรพระพุทธศาสนาให้ประชาชนทั่วไปในเขตหนองแขมและบริเวณใกล้เคียงได้บำเพ็ญบุญและปฏิบัติธรรม กระทรวงศึกษาธิการ ได้ประกาศตั้งเป็นวัดในพระพุทธศาสนา ชื่อว่า "วัดทองเนียม" ตามชื่อสกุลของนาย ม้าน-นางเหว่า ทองเนียมอยู่ในสังกัดคณะธรรมยุตมีพื้นที่จำนวน 6 ไร่ 3 งาน  วัดหลักสาม วัดหลักสาม เดิมชื่อ สำนักสงฆ์พระอาทิตย์ พระจันทร์ ตั้งอยู่ที่ถนนเลียบคลองภาษีเจริญฝั่งใต้ แขวงหนองแขม พ.ศ. 2515 นายชวลิต เงินล้าน กับเพื่อน ได้มีจิตศรัทธาตั้งสำนักสงฆ์ขึ้น มีเจ้าอาวาสองค์แรก คือ พระครูสังฆรักษ์แก้ว สัจจวโร  ได้รับอนุญาตจากมหาเถรสมาคม ประกาศตั้งเป็นวัดขึ้นในพระพุทธศาสนา มีนามว่า "วัดหลักสาม" โดยมีพระครูสังฆรักษ์แก้ว สัจจวโร เป็นเจ้าอาวาส
วัดอุดมรังสี เป็นวัดที่สร้างขึ้นใหม่ซึ่งได้รับอนุญาตให้สร้าง เกี่ยวกับนามวัดใช้คำว่า "อุดม" ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของนามสกุลผู้สร้างวัด และถวายที่ดินให้ ประกอบกับคำว่า "รังสี" หมายถึง วัดอันเป็นแดนให้รัศมี หรือแสงสว่างมาก วัดนี้ได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมา เมื่อ 8 ตุลาคม พ.ศ. 2508 ได้ประกอบพิธีผูกพันธสีมาเมื่อ 6 พฤษภาคม 2516 ตั้งอยู่ 11 หมู่ที่ 7 ถนนเพชรเกษม แขวงหนองค้างพลู มีเนื้อที่ 13 ไร่ 3 งาน 69 ตารางวา พื้นที่ตั้งวัดเป็นที่ราบลุ่มติดกับถนนเพชรเกษม ใกล้เคียงกับคลองมหาศร การคมนาคมสะดวก อาคารเสนาสนะ มีอุโบสถกว้าง 25 เมตร ยาว 35 เมตร สร้างเมื่อ พ.ศ. 2503 กุฎิสงฆ์จำนวน 18 หลัง ศาลาการเปรียญ กว้าง 22 เมตร ยาว 44 เมตร สำหรับปูชนียวัตถุ มีประประธานนามว่า "พระพุทธรังสี" หลวงพ่อขาว และ พระพุทธรูปปางต่าง ๆ รูปเหมือนสมเด็จพระพุฒาจารย์ (โต พรหมรังสี) รอยพระพุทธบาทจำลอง  วัดวงษ์ลาภาราม  ก่อสร้างเมื่อ 31 พ.ค. 2524 โดยการนำของพระเดชพระคุณเทพ สิทธิมุนี (โชดก์) วัดมหาธาตุฯ ประธานฝ่ายสงฆ์ และพันเอก (พิเศษ) สาลี่ ปาลากุล เจ้าของห้างขายยาโพธิพิสากล โอสถ ประธานฝ่ายฆราวาส มีพระจำรัสสุทธิเตโช เป็นผู้สร้าง สำหรับที่ดินในการจัดสร้างวัดครั้งนี้น มีนายแพทย์วินิจ วงษ์ดนตรี และผู้ร่วมสกุลวงษ์ดนตรีท่านอื่นอีก ได้บริจาคที่ดิน จำนวน 11 ไร่ และทางวัดจัดซื้อเพิ่มเติมอีก จำนวน 19 ไร่ รวมเนื้อที่ทั้งหมด 30 ไร่ วัดได้รับประกาศตั้งเป็นวัด ได้ชื่อว่า "วัดวงษ์ลาภาราม" ตามสกุลของผู้อุปถัมป์ถวายที่ดิน ที่ตั้ง 6 ซ.108 ถ.เพชรเกษม แขวงหนองค้างพลู เขตหนองแขม จังหวัดกรุงเทพมหานคร 
สถานศึกษา สังกัดกรุงเทพมหานคร ได้แก่ โรงเรียนคลองบางแวก (มนต์ จรัสสิงห์) โรงเรียนบ้านขุนประเทศ โรงเรียนประชาบำรุง โรงเรียนวัดศรีนวลธรรมวิมล โรงเรียนวัดหนองแขม (สหราษฎร์บูรณะ) โรงเรียนวัดอุดมรังสี สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 1 ได้แก่ โรงเรียนมัธยมวัดหนองแขม สังกัดสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน (ระดับประถม/มัธยมศึกษา) ได้แก่ โรงเรียนกรพิทักษ์ศึกษา โรงเรียนจันทศิริวิทยา โรงเรียนปิยพัฒน์ โรงเรียนเลิศหล้า โรงเรียนวีรสุนทร โรงเรียนศึกษาสมบูรณ์อนุสรณ์ โรงเรียนอนุบาลก้องหล้า โรงเรียนอนุบาลนครธน โรงเรียนอนุบาลนัยนา โรงเรียนอนุบาลบัณฑิตวิทย์หนองแขม โรงเรียนอนุบาลยุวมิตร สังกัดสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน (ระดับอาชีวศึกษา) ได้แก่ วิทยาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครู วิทยาลัยเทคโนโลยีการจัดการเพชรเกษม โรงเรียนจันทศิริวิทยาและเทคโนโลยีเอเชียบริหารธุรกิจ สังกัดกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม มหาวิทยาลัยเอเชียอาคเนย์ มหาวิทยาลัยธนบุรี
ถนนเพชรเกษม (อักษรโรมัน: Thanon Phet Kasem) ซึ่งมีระยะทางส่วนใหญ่เป็น ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 4 สายกรุงเทพมหานคร–จุดผ่านแดนถาวรสะเดา (เขตแดนไทย/มาเลเซีย) เป็นทางหลวงแผ่นดินสายประธานของประเทศไทย ที่มีเส้นทางมุ่งสู่ภาคใต้ของประเทศไทย มีระยะทาง 1310.554 กิโลเมตร นับเป็นทางหลวงหรือถนนสายที่ยาวที่สุดในประเทศไทย ถนนเพชรเกษมมีเส้นทางเริ่มต้นที่สะพานเนาวจำเนียร (ข้ามคลองบางกอกใหญ่) ระหว่างเขตบางกอกใหญ่กับเขตธนบุรี กรุงเทพมหานคร สิ้นสุดที่จุดผ่านแดนถาวรสะเดา อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา บริเวณเขตแดนประเทศไทยกับประเทศมาเลเซีย เชื่อมต่อกับทางด่วนเหนือ–ใต้ สายเหนือ ที่เมืองบูกิตกายูฮีตัม รัฐเกอดะฮ์ ประเทศมาเลเซีย บางช่วงของทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 4 เป็นส่วนหนึ่งของทางหลวงเอเชียสาย 2 และทางหลวงเอเชียสาย 123 ชื่อถนน
ถนนทวีวัฒนา (อักษรโรมัน: Thanon Thawi Watthana) เป็นเส้นทางการคมนาคมระหว่างเขตหนองแขมกับเขตทวีวัฒนา ทางทิศตะวันตกของกรุงเทพมหานคร แยกจากถนนเพชรเกษมในพื้นที่แขวงหนองค้างพลู เขตหนองแขม เลียบฝั่งตะวันตกของคลองทวีวัฒนาเป็นเส้นตรงไปทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือ ผ่านใต้สะพานถนนพุทธมณฑล สาย 3 จากนั้นข้ามคลองบางไผ่เข้าพื้นที่แขวงทวีวัฒนา เขตทวีวัฒนา ตัดกับถนนบางแวก ตัดกับถนนเลียบคลองปทุม ตัดกับถนนทวีวัฒนา-กาญจนาภิเษกและถนนทวีวัฒนา-พุทธมณฑล สาย 4 จากนั้นข้ามคลองบางกระทึกเข้าพื้นที่แขวงศาลาธรรมสพน์ ตัดกับถนนอุทยาน ถนนบรมราชชนนี และถนนศาลาธรรมสพน์ ก่อนจะไปสิ้นสุดที่ทางรถไฟสายใต้ ถนนทวีวัฒนาเป็นถนนขนาด 4 ช่องจราจร ไม่มีเกาะกลางในช่วงถนนเพชรเกษมถึงถนนอุทยาน และมีเกาะกลางในช่วงถนนอุทยานถึงถนนบรมราชชนนี ช่วงถนนบรมราชชนนีถึงทางรถไฟสายใต้มีขนาด 2 ช่องจราจร ระยะทางรวม 10.8 กิโลเมตร เดิมมีลักษณะเป็นคันทางริมคลองทวีวัฒนาซึ่งกรมชลประทานใช้เป็นเส้นทางในการดูแลบำรุงรักษาคลอง แต่ให้ประชาชนได้ใช้สัญจรด้วย กรุงเทพมหานครได้รับมอบเส้นทางสายนี้จากกรมชลประทานเมื่อประมาณปี พ.ศ. 2520  มีชื่อเรียกทางการและชื่อเรียกโดยทั่วไปว่า ถนนเลียบคลองทวีวัฒนา
เรียนพิเศษคณิตศาสตร์หนองแขม เรียนพิเศษวิทยาศาสตร์เขตหนองแขม เรียนพิเศษภาษาอังกฤษเขตหนองแขม เรียนพิเศษฟิสิกส์เขตหนองแขม
image
Guaranteed Results.
รับรองผลทุกคอร์ส
นักเรียนที่เรียนจบหลักสูตรจากบ้านครูตี๋  กว่า  90%  มีผลการเรียนดีขึ้น
และสามารถสอบเข้าโรงเรียนรัฐบาล  และมหาวิทยาลัยชั้นนำของรัฐได้
จากศิษย์เก่าบ้านครูตี๋กว่า 3,000 คน   ตลอดระยะเวลา 25 ปี 
image
Powered by MakeWebEasy.com
เว็บไซต์นี้มีการใช้งานคุกกี้ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพและประสบการณ์ที่ดีในการใช้งานเว็บไซต์ของท่าน ท่านสามารถอ่านรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว  และ  นโยบายคุกกี้