เรียนพิเศษเขตบางพลัด
 
คณิตศาสตร์      ฟิสิกส์       ภาษาอังกฤษ
แคลคูลัส
ความถนัดทางวิศวกรรมศาสตร์
O-Net    A-level    TGAT    TPAT    TPAT3    TCAS67
 

เปิดสอน   ระดับชั้นประถมศึกษา    มัธยมต้น    มัธยมปลาย
และระดับมหาวิทยาลัย

เพื่อการสอบเพิ่มเกรดประจำภาคเรียน
สอบเข้า ม.1     สอบเข้า ม.4
สอบ Admission     และสอบตรงเข้ามหาวิทยาลัย

"เน้นเรียนตัวต่อตัว    และกลุ่มย่อย 4 คน"

สำหรับนักเรียนที่มุ่งมั่นเข้าศึกษาต่อคณะวิศวกรรมศาสตร์ และคณะวิทยาศาสตร์
มหาวิทยาลัย TOP 10 ของประเทศ
 
สอนพิเศษตัวต่อตัว เรียนพิเศษตัวต่อตัว เรียนพิเศษกลุ่มย่อย สอนพิเศษกลุ่มย่อย วิชาคณิตศาสตร์ ฟิสิกส์ วิทยาศาสตร์ ภาษาอังกฤษ ความถนัดทางวิศวกรรม รับรองผล เรียนเพิ่มเกรด ติวเพิ่มเกรด  o-net  ติวสอบเข้า ม.1 ติวสอบเข้า ม.4  onsite เรียนออนไซต์  กวดวิชา ติว ครูคณิต กวดวิชา ติว ครูเลข ครูวิทย์ onsite ครูฟิสิกส์ ครูอังกฤษ กวดวิชา ติว  tutor วิทย์ ติวเตอร์ อาจารย์คณิต อาจารย์เลข อาจารย์วิทย์ อาจารย์ฟิสิกส์ อาจารย์อังกฤษ onsite เรียนออนไซต์ เรียนพิเศษใกล้ฉัน  เรียนพิเศษเลขกับติวเตอร์คนไหนดี? เรียนพิเศษคณิตศาสตร์กับติวเตอร์คนไหนดี? เรียนพิเศษฟิสิกส์กับติวเตอร์คนไหนดี? เรียนพิเศษวิทย์กับติวเตอร์คนไหนดี? วิทย์ เรียนพิเศษใกล้ฉัน เรียนพิเศษภาษาอังกฤษกับติวเตอร์คนไหนดี?  เรียนพิเศษที่ไหนดี? เรียนพิเศษคณิตศาสตร์ที่ไหนดี? เรียนพิเศษเลขที่ไหนดี? เรียนพิเศษวิทยาศาสตร์ที่ไหนดี? เรียนพิเศษฟิสิกส์ที่ไหนดี? เรียนพิเศษภาษาอังกฤษที่ไหนดี?  เรียนพิเศษวิทยาศาสตร์กับติวเตอร์คนไหนดี?  ติวเตอร์ tutor โรงเรียนกวดวิชา Quota โควตา TGAT TPAT Admission วิชาสามัญ GPAX GPA TPAT3 A-level คณิตศาสตร์ประยุกต์1 A-level คณิตศาสตร์ประยุกต์2  A-level วิทยาศาสตร์ประยุกต์ ติวเตอร์  A-level ฟิสิกส์ A-level ภาษาอังกฤษ  TGAT TPAT A-level Mathematics Physics Engineering Science TCAS dek66 dek67 dek68 TCAS66 TCAS67 TCAS68 pat1 pat2 pat3 gat ครูสอนพิเศษ อาจารย์สอนพิเศษ  ติวเตอร์ tutor  โรงเรียนกวดวิชา Quota โควตา TGAT TPAT Admission วิชาสามัญ GPAX GPA TPAT3 A-level คณิตศาสตร์ประยุกต์1 A-level คณิตศาสตร์ประยุกต์2  A-level วิทยาศาสตร์ประยุกต์
อยู่เขตบางพลัดเรียนพิเศษกับติวเตอร์คนไหนดี เรียนพิเศษคณิตศาสตร์เขตบางพลัด เรียนพิเศษฟิสิกส์เขตบางพลัด เรียนพิเศษภาษาอังกฤษเขตบางพลัด หาติวเตอร์สอนคณิตศาสตร์เขตบางพลัด หาติวเตอร์สอนฟิสิกส์เขตบางพลัด  หาติวเตอร์สอนภาษาอังกฤษเขตบางพลัด ครูสอนคณิตศาสตร์เขตบางพลัด ครูสอนฟิสิกส์เขตบางพลัด สอนพิเศษตัวต่อตัวเขตบางพลัด เรียนพิเศษตัวต่อตัวเขตบางพลัด ติวสอบเข้ามหาวิทยาลัยเขตบางพลัด เรียนวิทยาศาสตร์กับครูสอนวิทยาศาสตร์เขตบางพลัด ครูเลขเขตบางพลัด ครูวิทย์เขตบางพลัด ติววิทยาศาสตร์เขตบางพลัด ติววิทย์เขตบางพลัด ติวคณิตเขตบางพลัด ติวเลขเขตบางพลัด หาติวเตอร์สอนพิเศษเขตบางพลัด  อยู่เขตบางพลัด โรงเรียนกวดวิชาเขตบางพลัด
บางพลัด เป็นหนึ่งในห้าสิบเขตของกรุงเทพมหานคร เดิมถือเป็นพื้นที่รอบนอก แต่ปัจจุบันมีความเจริญเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว สภาพทั่วไปเป็นแหล่งการค้าและแหล่งที่อยู่อาศัยหนาแน่นมาก แต่ก็มีแหล่งท่องเที่ยวเชิงประวัติศาสตร์และศิลปวัฒนธรรมตั้งอยู่ด้วยเช่นกันที่ตั้งและอาณาเขต ตั้งอยู่ริมฝั่งตะวันตกของแม่น้ำเจ้าพระยา (ฝั่งธนบุรี) มีอาณาเขตติดต่อกับพื้นที่การปกครองต่าง ๆ เรียงตามเข็มนาฬิกา ดังนี้ ทิศเหนือ ติดต่อกับอำเภอบางกรวย (จังหวัดนนทบุรี) มีทางรถไฟสายใต้เป็นเส้นแบ่งเขต ทิศตะวันออก ติดต่อกับเขตบางซื่อ เขตดุสิต และเขตพระนคร มีแนวกึ่งกลางแม่น้ำเจ้าพระยาเป็นเส้นแบ่งเขต ทิศใต้ ติดต่อกับเขตบางกอกน้อย มีถนนสมเด็จพระปิ่นเกล้าและถนนบรมราชชนนีเป็นเส้นแบ่งเขต ทิศตะวันตก ติดต่อกับเขตตลิ่งชัน มีคลองบางกอกน้อยเป็นเส้นแบ่งเขต ที่มาของชื่อเขต มีข้อสันนิษฐานว่าชื่อ "บางพลัด" หมายถึง การพลัดหลงหรือหลงถิ่น เชื่อว่ามาจากเมื่อครั้งเสียกรุงศรีอยุธยาแก่พม่าครั้งที่ 2 เมื่อ พ.ศ. 2310 เมื่อผู้คนอพยพหนีลงมาสู่ที่นี่ได้พลัดหลงหรือหลงหายกัน เนื่องจากมีลำคลอง ลำประโดง และมีสวนแน่นขนัด ทำให้ผู้ที่เข้ามาในละแวกนี้มักจะเกิดการพลัดหลงเข้าออกไม่ถูกอยู่บ่อยครั้ง ซึ่งนามเช่นนี้มีความหมายในเชิงไม่เป็นมงคลในความเชื่อ จึงมีแนวคิดที่จะเปลี่ยนเป็น "บางภัทร์" ใน พ.ศ. 2545 แต่ที่สุดก็ไม่ได้มีการเปลี่ยนแต่อย่างใด ประวัติศาสตร์ เดิมเขตบางพลัดมีฐานะเป็นอำเภอชั้นในอำเภอหนึ่งของพระนคร มีชื่อว่า อำเภอบางพลัด ต่อมาถูกลดฐานะเป็น ตำบลบางพลัด ขึ้นอยู่กับอำเภอบางกอกน้อย จังหวัดธนบุรี ภายหลังได้มีการรวมจังหวัดธนบุรีกับจังหวัดพระนครเข้าด้วยกันเป็นจังหวัดนครหลวงกรุงเทพธนบุรี และเปลี่ยนเป็นกรุงเทพมหานครใน พ.ศ. 2515 ตำบลบางพลัดจึงเปลี่ยนฐานะเป็น แขวงบางพลัด ขึ้นกับเขตบางกอกน้อย กรุงเทพมหานคร วันที่ 1 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2528 ได้มีการจัดตั้งที่ทำการแขวงบางพลัดโดยใช้อาคารเรียนของโรงเรียนวัดบางพลัด ซึ่งตั้งอยู่ที่ซอยจรัญสนิทวงศ์ 79 ถนนจรัญสนิทวงศ์ แขวงบางพลัด เขตบางกอกน้อยในขนะนั้น ต่อมาในเดือนมกราคม พ.ศ. 2532 กรุงเทพมหานครได้จัดตั้งสำนักงานเขตบางกอกน้อย สาขาบางพลัด ขึ้นดูแลพื้นที่แขวงบางพลัด บางอ้อ บางบำหรุ และบางยี่ขัน ซึ่งต่อมาท้องที่ทั้ง 4 แขวงนี้ได้ยกฐานะขึ้นเป็น เขตบางพลัด ในวันที่ 9 พฤศจิกายน พ.ศ. 2532 ตามประกาศกระทรวงมหาดไทย เปลี่ยนแปลงพื้นที่เขตบางกอกน้อยและจัดตั้งเขตบางพลัด เมื่อวันที่ 12 ธันวาคม พ.ศ. 2534 ได้มีประกาศของกระทรวงมหาดไทย เปลี่ยนแปลงพื้นที่เขตบางพลัด โดยโอนพื้นที่แขวงบางบำหรุและบางยี่ขันเฉพาะส่วนที่อยู่ทางทิศใต้ของถนนบรมราชชนนีและถนนสมเด็จพระปิ่นเกล้า กลับไปเป็นพื้นที่ในการปกครองของเขตบางกอกน้อยอีกครั้ง
การคมนาคม ทางสายหลัก ถนนจรัญสนิทวงศ์ เชื่อมระหว่างทางแยกบรมราชชนนีกับสะพานพระราม 7 ถนนสิรินธร เชื่อมระหว่างทางแยกต่างระดับสิรินธรกับสี่แยกบางพลัด ถนนราชวิถี เชื่อมระหว่างทางแยกบางพลัดกับสะพานกรุงธน ถนนสมเด็จพระปิ่นเกล้า (ทางขนานขาเข้า) ถนนอรุณอมรินทร์ เชื่อมระหว่างทางแยกอรุณอมรินทร์กับสะพานพระราม 8 ทางพิเศษศรีรัช เชื่อมกับถนนกาญจนาภิเษก รถไฟฟ้าชานเมือง สายสีแดงอ่อน – สถานีบางบำหรุ ทางสายรองและทางลัด ถนนรุ่งประชา ถนนเทอดพระเกียรติ ถนนเจ้าพระยาสยาม (จรัญสนิทวงศ์ 66/1) ซอยจรัญสนิทวงศ์ 40 (อัศวมิตร) และซอยอรุณอมรินทร์ 49 (วัดน้อยนางหงษ์) ซอยจรัญสนิทวงศ์ 44 (วิมลสรกิจ) ซอยจรัญสนิทวงศ์ 46 (พระยาวรพงษ์) ซอยจรัญสนิทวงศ์ 65 / ซอยสิรินธร 7 (ร่วมพัฒนา) ซอยจรัญสนิทวงศ์ 67 (เลิศสุข) ซอยจรัญสนิทวงศ์ 69 (เสริมสุข)
ซอยจรัญสนิทวงศ์ 71 (เลิศบุญ) ซอยจรัญสนิทวงศ์ 75 (ภาณุรังษี) ซอยสิรินธร 2 (สมชายพัฒนา) ซอยสมเด็จพระปิ่นเกล้า 4 (สุวิชานดำริ) ซอยอรุณอมรินทร์ 30 (วัดบางยี่ขัน) และซอยอรุณอมรินทร์ 34  ถนนเลียบทางรถไฟสายใต้ สะพานข้ามแม่น้ำเจ้าพระยา สะพานพระราม 7 เชื่อมเขตบางพลัดและอำเภอบางกรวยเข้ากับเขตบางซื่อ สะพานพระราม 6 เป็นสะพานรถไฟเชื่อมระหว่างเขตบางพลัดกับเขตบางซื่อ
สะพานกรุงธน เชื่อมระหว่างเขตบางพลัดกับเขตดุสิต สะพานพระราม 8 เชื่อมระหว่างเขตบางพลัดกับเขตพระนคร สถานที่สำคัญ สวนหลวงพระราม 8 สะพานพระราม 8 และสวนหลวงพระราม 8 สะพานกรุงธน บ้านบางยี่ขัน ทางหลวงธนบุรี หมวดทางหลวงตลิ่งชัน ศูนย์กายภาพบำบัด คณะกายภาพบำบัด มหาวิทยาลัยมหิดล ศูนย์วิทยาศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี, คณะพยาบาลศาสตร์, โรงเรียนการเรือน มหาวิทยาลัยสวนดุสิต ศาสนสถาน วัด เขตบางพลัดมีพุทธศาสนิกชนจำนวนมาก จึงมีการสร้างวัดเป็นจำนวนไม่น้อย แบ่งเป็นวัด 23 วัด วัดวิมุตยาราม วัดใหม่เทพนิมิตร วัดจตุรมิตรประดิษฐาราม วัดเปาโรหิตย์ วัดน้อยนางหงษ์ วัดบางพลัด (วัดบางพลัดใน) วัดอมรคีรี วัดสิงห์ วัดพระยาศิริไอยสวรรค์ วัดรวกบางบำหรุ วัดภาณุรังษี วัดคฤหบดี วัดเทพนารี วัดทอง วัดฉัตรแก้วจงกลณี วัดดาวดึงษาราม
วัดเทพากร  วัดบางยี่ขัน วัดเพลง วัดภคินีนาถวรวิหาร วัดบวรมงคล (วัดลิงขบ) วัดอาวุธวิกสิตาราม (วัดบางพลัดนอกหรือวัดปากคลองบางพลัด) วัดสามัคคีสุทธาวาส
มัสยิด มัสยิดบางอ้อ เป็นมัสยิดเก่าแก่สร้างขึ้นในสมัยรัชกาลที่ 6 โดยชาวมุสลิมสายเปอร์เซียที่อพยพมาจากกรุงศรีอยุธยาเมื่อครั้งเสียกรุง หรือที่เรียกว่า "แขกแพ" มัสยิดบางอ้อ มัสยิดดารุลอิหซาน ศาลเจ้า ศาลเจ้าปุงเท่ากง ศาลเจ้าพ่อเสือ บางพลัด เป็นเขตการปกครองระดับแขวง 1 ใน 4 แห่งของเขตบางพลัด ซึ่งได้แก่ แขวงบางพลัด แขวงบางอ้อ แขวงบางบำหรุ แขวงบางยี่ขัน กรุงเทพมหานคร เดิมเป็นพื้นที่รอบนอกซึ่งเป็นพื้นที่สวนป่ามาก่อน แต่ในปัจจุบันมีความเจริญอย่างรวดเร็วและเป็นแหล่งที่อยู่อาศัยหนาแน่นมากขึ้น ที่ตั้งและอาณาเขต แขวงบางพลัดตั้งอยู่ริมฝั่งตะวันตกของแม่น้ำเจ้าพระยา ทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือของฝั่งธนบุรี มีอาณาเขตติดต่อกับพื้นที่การปกครองต่าง ๆ เรียงตามเข็มนาฬิกาดังนี้ ทิศเหนือ ติดต่อกับตำบลวัดชลอและตำบลบางกรวย (อำเภอบางกรวย จังหวัดนนทบุรี) มีทางรถไฟสายใต้เป็นเส้นแบ่งเขต ทิศตะวันออก ติดต่อกับแขวงบางอ้อ (เขตบางพลัด) แขวงถนนนครไชยศรี และแขวงวชิรพยาบาล (เขตดุสิต) มีคลองบางพลัดและแนวกึ่งกลางแม่น้ำเจ้าพระยาเป็นเส้นแบ่งเขต ทิศใต้ ติดต่อกับแขวงบางยี่ขัน แขวงบางบำหรุ (เขตบางพลัด) และแขวงอรุณอมรินทร์ (เขตบางกอกน้อย) มีถนนสิรินธรและถนนบรมราชชนนีเป็นเส้นแบ่งเขต ทิศตะวันตก ติดต่อกับแขวงตลิ่งชัน (เขตตลิ่งชัน) มีคลองบางกอกน้อยเป็นเส้นแบ่งเขต เส้นทางหลัก ถนนจรัญสนิทวงศ์ ถนนสิรินธร บางอ้อ เป็นเขตการปกครองระดับแขวง 1 ใน 4 แห่งของเขตบางพลัด ซึ่งได้แก่ แขวงบางพลัด แขวงบางอ้อ แขวงบางบำหรุ แขวงบางยี่ขัน กรุงเทพมหานคร บางอ้อเป็นชุมชนที่เก่าแก่แห่งหนึ่งในกรุงเทพมหานคร ตั้งอยู่ริมฝั่งแม่น้ำเจ้าพระยาฝั่งตะวันตก ในปัจจุบันมีความเจริญอย่างรวดเร็วและเป็นแหล่งที่อยู่อาศัยหนาแน่นมากขึ้น แต่เดิมเป็นพื้นที่รอบนอกซึ่งเป็นพื้นที่สวนป่า สวนผลไม้นานาชนิด เต็มไปด้วยลำน้ำคูคลองมากมาย เช่น คลองเตาอิฐ คลองบางรัก คลองบางพระครู เป็นต้น ที่ลาดชายตลิ่งปกคลุมหนาแน่นด้วยพันธุ์ไม้น้ำ เช่น ต้นอ้อ ต้นพง ต้นลำพู และหญ้าคา ซึ่งถิ่นนี้มี "อ้อ" มากที่สุด อันเป็นที่มาชื่อบางนี้ ครั้งเสียกรุงศรีอยุธยา ใน พ.ศ. 2310 มีผู้คนอพยพเข้ามาตั้งถิ่นฐานในย่านนี้เรื่อยมา และมีความหลากหลายของผู้คน ชุมชน วัฒนธรรม ทั้งจีน มอญ และมุสลิม และชื่อของย่านบางอ้อ เป็นที่รู้จักแพร่หลายมาตั้งแต่รัตนโกสินทร์ตอนต้น ดังปรากฏชื่อใน "นิราศวัดเจ้าฟ้า" ซึ่งประพันธ์ขึ้นโดยสุนทรภู่ ในสมัยรัชกาลที่ 3 แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ ดังความว่า ถึงบางอ้อคิดจะใคร่ได้ไม้อ้อ ทำแพนซอเสียงแจ้วเที่ยวแอ่วสาว แต่ยังไม่เคยเชยโฉมประโลมลาว สุดจะกล่าวกล่อมปลอบให้ชอบใจ ที่ตั้งและอาณาเขต แขวงบางอ้อตั้งอยู่ริมฝั่งตะวันตกของแม่น้ำเจ้าพระยา (ทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือของฝั่งธนบุรี) มีอาณาเขตติดต่อกับพื้นที่การปกครองต่าง ๆ เรียงตามเข็มนาฬิกาดังนี้ ทิศเหนือ ติดต่อกับตำบลบางกรวย (อำเภอบางกรวย จังหวัดนนทบุรี) มีทางรถไฟสายใต้เป็นเส้นแบ่งเขต ทิศตะวันออก ติดต่อกับแขวงบางซื่อ (เขตบางซื่อ) และแขวงถนนนครไชยศรี (เขตดุสิต) มีแนวกึ่งกลางแม่น้ำเจ้าพระยาเป็นเส้นแบ่งเขต ทิศใต้ ติดต่อกับแขวงบางพลัด (เขตบางพลัด) มีคลองบางพลัดเป็นเส้นแบ่งเขต ทิศตะวันตก ติดต่อกับตำบลบางกรวย (อำเภอบางกรวย จังหวัดนนทบุรี) มีทางรถไฟฟ้าชานเมืองสายสีแดงอ่อนเป็นเส้นแบ่งเขต เส้นทางหลัก ถนนจรัญสนิทวงศ์ ซอยจรัญสนิทวงศ์ 81–97 สะพานพระราม 6 เชื่อมระหว่างเขตบางพลัดกับเขตบางซื่อ รถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคล สายสีน้ำเงิน สถานีบางอ้อ สถานที่สำคัญ สำนักงานเขตบางพลัด โรงเรียนพระรามหกเทคโนโลยี โรงเรียนวิมุตยารามพิทยากร โรงเรียนวัดวิมุตยาราม (ซอยจรัญสนิทวงศ์ 98) โรงเรียนวัดฉัตรแก้วจงกลณี (ซอยจรัญสนิทวงศ์ 94) โรงเรียนบางอ้อศึกษา (ซอยจรัญสนิทวงศ์ 84/1) โรงเรียนศานติวิทยา (ซอยจรัญสนิทวงศ์ 95/1) สถานีดับเพลิงและกู้ภัยบางอ้อ ศาสนสถาน วัดวิมุตยาราม วัดฉัตรแก้วจงกลณี วัดสามัคคีสุทธาวาส มัสยิดดารุลอิหฺซาน มัสยิดบางอ้อ บางบำหรุ เป็นเขตการปกครองระดับแขวง 1 ใน 4 แห่งของเขตบางพลัด ซึ่งได้แก่ แขวงบางพลัด แขวงบางอ้อ แขวงบางบำหรุ แขวงบางยี่ขัน กรุงเทพมหานคร[3] เดิมเป็นพื้นที่รอบนอกซึ่งเป็นพื้นที่สวนป่ามาก่อน แต่ในปัจจุบันมีความเจริญอย่างรวดเร็วและเป็นแหล่งที่อยู่อาศัยหนาแน่นมากขึ้น ที่ตั้งและอาณาเขต แขวงบางบำหรุตั้งอยู่ริมฝั่งตะวันตกของแม่น้ำเจ้าพระยา ทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือของฝั่งธนบุรี มีอาณาเขตติดต่อกับพื้นที่การปกครองต่าง ๆ เรียงตามเข็มนาฬิกาดังนี้ ทิศเหนือ ติดต่อกับแขวงบางพลัด (เขตบางพลัด) มีถนนสิรินธรเป็นเส้นแบ่งเขต ทิศตะวันออก ติดต่อกับแขวงบางพลัดและแขวงบางยี่ขัน (เขตบางพลัด) มีถนนสิรินธรและถนนจรัญสนิทวงศ์เป็นเส้นแบ่งเขต ทิศใต้ ติดต่อกับแขวงบางยี่ขัน (เขตบางพลัด) และแขวงอรุณอมรินทร์ (เขตบางกอกน้อย) มีถนนจรัญสนิทวงศ์และถนนบรมราชชนนีเป็นเส้นแบ่งเขต ทิศตะวันตก ติดต่อกับแขวงอรุณอมรินทร์ (เขตบางกอกน้อย) มีถนนบรมราชชนนีเป็นเส้นแบ่งเขต เส้นทางหลัก ถนนจรัญสนิทวงศ์ ถนนบรมราชชนนี ถนนสิรินธร บางยี่ขัน เป็นเขตการปกครองระดับแขวงหนึ่งในสี่แห่งของเขตบางพลัด กรุงเทพมหานคร ที่ตั้งและอาณาเขต แขวงบางยี่ขันตั้งอยู่ริมฝั่งตะวันตกของแม่น้ำเจ้าพระยา ทางตอนใต้ของเขตบางพลัด มีอาณาเขตติดต่อกับพื้นที่การปกครองต่าง ๆ เรียงตามเข็มนาฬิกาดังนี้  ทิศเหนือ ติดต่อกับแขวงบางบำหรุและแขวงบางพลัด (เขตบางพลัด) มีถนนจรัญสนิทวงศ์และถนนราชวิถีเป็นเส้นแบ่งเขต ทิศตะวันออก ติดต่อกับแขวงวชิรพยาบาล (เขตดุสิต) และแขวงวัดสามพระยา (เขตพระนคร) มีแนวกึ่งกลางแม่น้ำเจ้าพระยาเป็นเส้นแบ่งเขต ทิศใต้ ติดต่อกับแขวงวัดสามพระยา แขวงชนะสงคราม (เขตพระนคร) และแขวงอรุณอมรินทร์ (เขตบางกอกน้อย) มีแนวกึ่งกลางแม่น้ำเจ้าพระยาและถนนสมเด็จพระปิ่นเกล้าเป็นเส้นแบ่งเขต ทิศตะวันตก ติดต่อกับแขวงอรุณอมรินทร์ (เขตบางกอกน้อย) และแขวงบางบำหรุ (เขตบางพลัด) มีถนนสมเด็จพระปิ่นเกล้าและถนนจรัญสนิทวงศ์เป็นเส้นแบ่งเขต โรงเรียนกวดวิชาเขตบางพลัด สอนพิเศษคณิตศาสตร์เขตบางพลัด สอนพิเศษวิทยาศาสตร์เขตบางพลัด สอนพิเศษภาษาอังกฤษเขตบางพลัด สอนพิเศษฟิสิกส์เขตบางพลัด เรียนพิเศษคณิตศาสตร์บางพลัด เรียนพิเศษวิทยาศาสตร์เขตบางพลัด เรียนพิเศษภาษาอังกฤษเขตบางพลัด เรียนพิเศษฟิสิกส์เขตบางพลัด ถนนจรัญสนิทวงศ์ (อักษรโรมัน: Thanon Charan Sanit Wong) เป็นถนนในฝั่งธนบุรี กรุงเทพมหานคร เริ่มต้นจากถนนเพชรเกษม ที่สี่แยกท่าพระ ในแขวงวัดท่าพระ เขตบางกอกใหญ่ ตรงไปทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือ ตัดกับถนนพาณิชยการธนบุรี (จรัญสนิทวงศ์ 13) ที่สามแยกพาณิชยการธนบุรี จากนั้นข้ามคลองมอญ เข้าสู่พื้นที่แขวงบางขุนศรี เขตบางกอกน้อย ตรงไปทางทิศเหนือ ตัดกับถนนพรานนกที่สี่แยกไฟฉาย จากนั้นโค้งไปทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือ ตัดกับทางรถไฟสายใต้เข้าแขวงบางขุนนนท์ ตัดกับถนนบางขุนนนท์ที่สามแยกบางขุนนนท์ จากนั้นข้ามคลองบางกอกน้อยเข้าสู่แขวงอรุณอมรินทร์ ตัดกับถนนบรมราชชนนีที่สี่แยกบรมราชชนนีเข้าสู่พื้นที่เขตบางพลัด โดยเป็นเส้นแบ่งเขตการปกครองระหว่างแขวงบางบำหรุกับแขวงบางยี่ขันไปจนตัดกับถนนสิรินธรและถนนราชวิถีที่สี่แยกบางพลัด จากนั้นจึงเข้าสู่แขวงบางพลัด มุ่งตรงไปทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือ ข้ามคลองบางพลัดเข้าสู่พื้นที่แขวงบางอ้อ และไปสิ้นสุดที่เชิงสะพานพระราม 7 ในพื้นที่ตำบลบางกรวย อำเภอบางกรวย จังหวัดนนทบุรี ชื่อถนนจรัญสนิทวงศ์ตั้งเพื่อเป็นเกียรติแก่หลวงจรัญสนิทวงศ์ (ม.ล.จรัญ สนิทวงศ์) อดีตปลัดกระทรวงคมนาคม เดิมกรุงเทพมหานครติดป้ายชื่อถนนว่า "ถนนจรัลสนิทวงศ์" ต่อมาได้แก้ไขเป็น "จรัญสนิทวงศ์" ตามนามของหลวงจรัญสนิทวงศ์ ปัจจุบันถนนสายนี้เป็นถนนสายสำคัญสายหนึ่งของกรุงเทพมหานคร
ปัจจุบันถนนจรัญสนิทวงศ์ตลอดทั้งสายได้มีการก่อสร้างรถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคล ส่วนต่อขยายสัญญาที่ 3 ช่วงสถานีเตาปูนถึงสี่แยกท่าพระ เป็นลักษณะรถไฟฟ้าแบบลอยฟ้าเช่นเดียวกับรถไฟฟ้าบีทีเอสและรถไฟฟ้ามหานคร สายฉลองรัชธรรม (เชื่อมต่อกับสายฉลองรัชธรรมที่สถานีเตาปูน) 
image
Guaranteed Results.
รับรองผลทุกคอร์ส
นักเรียนที่เรียนจบหลักสูตรจากบ้านครูตี๋  กว่า  90%  มีผลการเรียนดีขึ้น
และสามารถสอบเข้าโรงเรียนรัฐบาล  และมหาวิทยาลัยชั้นนำของรัฐได้
จากศิษย์เก่าบ้านครูตี๋กว่า 3,000 คน   ตลอดระยะเวลา 25 ปี 

image
Powered by MakeWebEasy.com
เว็บไซต์นี้มีการใช้งานคุกกี้ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพและประสบการณ์ที่ดีในการใช้งานเว็บไซต์ของท่าน ท่านสามารถอ่านรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว  และ  นโยบายคุกกี้