เรียนพิเศษเขตคันนายาว
 
คณิตศาสตร์      ฟิสิกส์       ภาษาอังกฤษ
แคลคูลัส
ความถนัดทางวิศวกรรมศาสตร์
O-Net    A-level    TGAT    TPAT    TPAT3    TCAS67
 

เปิดสอน   ระดับชั้นประถมศึกษา    มัธยมต้น    มัธยมปลาย
และระดับมหาวิทยาลัย

เพื่อการสอบเพิ่มเกรดประจำภาคเรียน
สอบเข้า ม.1     สอบเข้า ม.4
สอบ Admission     และสอบตรงเข้ามหาวิทยาลัย

"เน้นเรียนตัวต่อตัว    และกลุ่มย่อย 4 คน"

สำหรับนักเรียนที่มุ่งมั่นเข้าศึกษาต่อคณะวิศวกรรมศาสตร์ และคณะวิทยาศาสตร์
มหาวิทยาลัย TOP 10 ของประเทศ
 
สอนพิเศษตัวต่อตัว เรียนพิเศษตัวต่อตัว เรียนพิเศษกลุ่มย่อย สอนพิเศษกลุ่มย่อย วิชาคณิตศาสตร์ ฟิสิกส์ วิทยาศาสตร์ ภาษาอังกฤษ ความถนัดทางวิศวกรรม รับรองผล เรียนเพิ่มเกรด ติวเพิ่มเกรด  o-net  ติวสอบเข้า ม.1 ติวสอบเข้า ม.4  onsite เรียนออนไซต์  กวดวิชา ติว ครูคณิต กวดวิชา ติว ครูเลข ครูวิทย์ onsite ครูฟิสิกส์ ครูอังกฤษ กวดวิชา ติว  tutor วิทย์ ติวเตอร์ อาจารย์คณิต อาจารย์เลข อาจารย์วิทย์ อาจารย์ฟิสิกส์ อาจารย์อังกฤษ onsite เรียนออนไซต์ เรียนพิเศษใกล้ฉัน  เรียนพิเศษเลขกับติวเตอร์คนไหนดี? เรียนพิเศษคณิตศาสตร์กับติวเตอร์คนไหนดี? เรียนพิเศษฟิสิกส์กับติวเตอร์คนไหนดี? เรียนพิเศษวิทย์กับติวเตอร์คนไหนดี? วิทย์ เรียนพิเศษใกล้ฉัน เรียนพิเศษภาษาอังกฤษกับติวเตอร์คนไหนดี?  เรียนพิเศษที่ไหนดี? เรียนพิเศษคณิตศาสตร์ที่ไหนดี? เรียนพิเศษเลขที่ไหนดี? เรียนพิเศษวิทยาศาสตร์ที่ไหนดี? เรียนพิเศษฟิสิกส์ที่ไหนดี? เรียนพิเศษภาษาอังกฤษที่ไหนดี?  เรียนพิเศษวิทยาศาสตร์กับติวเตอร์คนไหนดี?  ติวเตอร์ tutor โรงเรียนกวดวิชา Quota โควตา TGAT TPAT Admission วิชาสามัญ GPAX GPA TPAT3 A-level คณิตศาสตร์ประยุกต์1 A-level คณิตศาสตร์ประยุกต์2  A-level วิทยาศาสตร์ประยุกต์ ติวเตอร์  A-level ฟิสิกส์ A-level ภาษาอังกฤษ  TGAT TPAT A-level Mathematics Physics Engineering Science TCAS dek66 dek67 dek68 TCAS66 TCAS67 TCAS68 pat1 pat2 pat3 gat ครูสอนพิเศษ อาจารย์สอนพิเศษ  ติวเตอร์ tutor  โรงเรียนกวดวิชา Quota โควตา TGAT TPAT Admission วิชาสามัญ GPAX GPA TPAT3 A-level คณิตศาสตร์ประยุกต์1 A-level คณิตศาสตร์ประยุกต์2  A-level วิทยาศาสตร์ประยุกต์
อยู่เขตคันนายาวเรียนพิเศษกับติวเตอร์คนไหนดี เรียนพิเศษคณิตศาสตร์เขตคันนายาว เรียนพิเศษฟิสิกส์เขตคันนายาว เรียนพิเศษภาษาอังกฤษเขตคันนายาว หาติวเตอร์สอนคณิตศาสตร์เขตคันนายาว หาติวเตอร์สอนฟิสิกส์เขตคันนายาว  หาติวเตอร์สอนภาษาอังกฤษเขตคันนายาว ครูสอนคณิตศาสตร์เขตคันนายาว ครูสอนฟิสิกส์เขตคันนายาว สอนพิเศษตัวต่อตัวเขตคันนายาว เรียนพิเศษตัวต่อตัวเขตคันนายาว  ติวสอบเข้ามหาวิทยาลัยเขตคันนายาว เรียนวิทยาศาสตร์กับครูสอนวิทยาศาสตร์เขตคันนายาว ครูเลขเขตคันนายาว ครูวิทย์เขตคันนายาว ติววิทยาศาสตร์เขตคันนายาว ติววิทย์เขตคันนายาว ติวคณิตเขตคันนายาว ติวเลขเขตคันนายาวหาติวเตอร์สอนพิเศษเขตคันนายาว  อยู่เขตคันนายาว โรงเรียนกวดวิชาเขตคันนายาว     โรงเรียนกวดวิชาเขตคันนายาว สอนพิเศษคณิตศาสตร์เขตคันนายาว สอนพิเศษวิทยาศาสตร์เขตคันนายาว สอนพิเศษภาษาอังกฤษเขตคันนายาว สอนพิเศษฟิสิกส์เขตคันนายาว เรียนพิเศษคณิตศาสตร์คันนายาว เรียนพิเศษวิทยาศาสตร์เขตคันนายาว เรียนพิเศษภาษาอังกฤษเขตคันนายาว เรียนพิเศษฟิสิกส์เขตคันนายาว
คันนายาว เป็นหนึ่งในห้าสิบเขตของกรุงเทพมหานคร สภาพโดยทั่วไปเป็นแหล่งที่อยู่อาศัยหนาแน่นปานกลางและหนาแน่นน้อย โดยมีย่านการค้าหนาแน่นทางด้านตะวันตกเฉียงเหนือของพื้นที่ ที่ตั้งและอาณาเขต เขตคันนายาวตั้งอยู่ทางทิศตะวันออกของแม่น้ำเจ้าพระยา (ฝั่งพระนคร) มีอาณาเขตติดต่อกับเขตต่าง ๆ เรียงตามเข็มนาฬิกา ดังนี้ ทิศเหนือ ติดต่อกับเขตบางเขนและเขตคลองสามวา มีคลองตาเร่ง คลองลำชะล่า คลองจรเข้บัว (หกขุด) คลองคู้ชุมเห็ด และคลองคู้บอนเป็นเส้นแบ่งเขต ทิศตะวันออก ติดต่อกับเขตคลองสามวาและเขตมีนบุรี มีคลองคู้บอนและคลองบางชันเป็นเส้นแบ่งเขต ทิศใต้ ติดต่อกับเขตสะพานสูง มีคลองแสนแสบเป็นเส้นแบ่งเขต ทิศตะวันตก ติดต่อกับเขตบึงกุ่ม มีคลองกุ่ม ถนนเสรีไทยฟากใต้ คลองระหัส คลองลำปลาดุก คลองหนองแขม คลองหลวงวิจิตร คลองบางชวดด้วน และถนนรามอินทราฟากใต้เป็นเส้นแบ่งเขต ที่มาของชื่อเขต ประมาณ พ.ศ. 2386 (รัชสมัยพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว) เจ้าพระยาบดินทรเดชา (สิงห์ สิงหเสนี) ได้ยกทัพไปปราบกบฏที่เมืองนครจำปาศักดิ์และเมืองหลวงพระบางจนได้รับชัยชนะ และได้กวาดต้อนครอบครัวจากหัวเมืองรายทางเข้ามายังกรุงเทพมหานคร โดยให้ตั้งถิ่นฐานอยู่แถบคลองกุ่ม ต่อมามีผู้คนอพยพเข้าไปอยู่อาศัยในย่านนี้และย่านใกล้เคียงมากขึ้น พื้นที่บางส่วนกลายเป็นที่ทำนาผืนใหญ่ ในการทำนาก็จะมีการสร้างแนวดินให้พูนสูงขึ้นจากท้องนาเพื่อกั้นที่นาเป็นส่วน ๆ หรือเพื่อกักเก็บน้ำไว้ใช้สำหรับปลูกข้าว ซึ่งก็คือ "คันนา" มีที่นาอยู่ผืนหนึ่งใกล้กับคลองแสนแสบ กินอาณาเขตตั้งแต่ท้ายหมู่บ้านสุเหร่าแดง (ปัจจุบันคือบริเวณถนนเสรีไทย) ไปสิ้นสุดตรงบริเวณที่เรียกว่า "โรงแดง" เพราะเป็นที่ตั้งของบ้านหลังหนึ่งที่มุงหลังคาสังกะสีเป็นสนิม มองเห็นเป็นสีแดงแต่ไกล (ปัจจุบันคือบริเวณถนนรามอินทรา) เรียกได้ว่าเป็นนาที่มีคันยาวมากที่สุด จึงสันนิษฐานว่าเป็นที่มาของชื่อ "คันนายาว" ประวัติ ตำบลคันนายาว ได้รับการจัดตั้งขึ้นเป็นท้องที่การปกครองท้องที่หนึ่งของอำเภอบางกะปิ จังหวัดพระนคร โดยใน พ.ศ. 2506 กระทรวงมหาดไทยได้ขยายเขตสุขาภิบาลบางกะปิให้ครอบคลุมถึงตำบลคันนายาวด้วย จนกระทั่งใน พ.ศ. 2514 จังหวัดพระนครถูกรวมเข้ากับจังหวัดธนบุรี เปลี่ยนฐานะเป็นนครหลวงกรุงเทพธนบุรี และในปีถัดมา (พ.ศ. 2515) จึงเปลี่ยนแปลงฐานะเป็นกรุงเทพมหานคร ซึ่งได้เปลี่ยนคำเรียกเขตการปกครองใหม่จากอำเภอและตำบลเป็นเขตและแขวงตามลำดับ ตำบลคันนายาวจึงได้รับการเปลี่ยนแปลงฐานะเป็น แขวงคันนายาว อยู่ในการปกครองของเขตบางกะปิ ด้วยเหตุที่เขตบางกะปิมีเนื้อที่กว้างขวางมากและมีจำนวนประชากรเพิ่มขึ้น ขณะที่ท้องที่บางแห่งอยู่ไกลจากสำนักงานเขต ใน พ.ศ. 2532 กระทรวงมหาดไทยจึงประกาศเปลี่ยนแปลงพื้นที่การปกครองใหม่เพื่อความสะดวกในการบริหารราชการ โดยจัดตั้งเขตบึงกุ่ม ประกอบด้วยแขวงคลองกุ่ม แขวงคันนายาว และแขวงสะพานสูงแยกจากเขตบางกะปิ โดยให้มีผลตั้งแต่วันที่ 4 กันยายน เป็นต้นไป อย่างไรก็ตาม หลังจากแบ่งเขตใหม่แล้ว เขตบึงกุ่มยังคงมีท้องที่กว้างขวางและมีประชากรหนาแน่น ประกอบกับความเจริญทางด้านสาธารณูปโภคได้หลั่งไหลเข้าสู่พื้นที่เพิ่มขึ้นเรื่อย ๆ ในที่สุดเมื่อวันที่ 14 ตุลาคม พ.ศ. 2540 กระทรวงมหาดไทยจึงมีประกาศเปลี่ยนแปลงพื้นที่เขตการปกครองใหม่อีกครั้งหนึ่ง โดยแยกแขวงคันนายาว รวมกับหมู่ที่ 3, 11 (บางส่วน) ของแขวงคลองกุ่ม และหมู่ที่ 1, 2, 9, 10 (บางส่วน) ของแขวงจรเข้บัว เขตลาดพร้าว จัดตั้งเป็น เขตคันนายาว และในวันที่ 7 พฤศจิกายน ปีเดียวกัน กรุงเทพมหานครได้ประกาศตั้งแขวงคันนายาวเต็มพื้นที่เขตคันนายาวอย่างเป็นทางการ เพื่อความชัดเจนและประโยชน์ในด้านการปกครอง การบริหาร และการอำนวยความสะดวกแก่ประชาชน ประกาศทั้ง 2 ฉบับเริ่มมีผลบังคับใช้ในวันเดียวกันคือวันที่ 21 พฤศจิกายน ปีเดียวกัน ซึ่งเป็นวันเดียวกับที่สำนักงานเขตคันนายาวได้เปิดให้บริการเป็นครั้งแรกพร้อมกับสำนักงานเขตแยกใหม่ทางฝั่งพระนครอีก 5 แห่ง ได้แก่ เขตสายไหม เขตสะพานสูง เขตหลักสี่ เขตวังทองหลาง และเขตคลองสามวา โดยใช้พื้นที่ชั้นล่างของศูนย์การค้าแฟชั่นไอส์แลนด์ซึ่งตั้งอยู่หมู่ที่ 7 แขวงคันนายาวเป็นที่ทำการ ต่อมาได้ย้ายมาตั้งสำนักงานเขตถาวรริมคลองครุ ในซอย 01 กาญจนาภิเษก 11/5 เมื่อช่วงสิ้นปี พ.ศ. 2552 การคมนาคม ถนนกาญจนาภิเษกในแขวงรามอินทรา ในพื้นที่เขตคันนายาวมีทางสายหลัก ได้แก่ ถนนกาญจนาภิเษก ถนนรามอินทรา ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 350 (รัชดาภิเษก–รามอินทรา) ถนนประเสริฐมนูกิจ (เกษตร–นวมินทร์–กาญจนาภิเษก) ถนนนวมินทร์ ถนนเสรีไทย ถนนสวนสยาม รถไฟฟ้าสายสีชมพู (สถานีรามอินทรา กม. 6, สถานีคู้บอน, สถานีรามอินทรา กม. 9, สถานีวงแหวนรามอินทรา, สถานีนพรัตน์ โดยทั้งหมดอยู่ระหว่างการก่อสร้าง)
ส่วนทางสายรองและทางลัด ได้แก่ ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 3901 (คู่ขนานกาญจนาภิเษกด้านนอก) ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 3902 (คู่ขนานกาญจนาภิเษกด้านใน) ถนนคู้บอน ถนนปัญญาอินทรา ซอยรามอินทรา 44 (หมู่บ้านปัฐวิกรณ์ 2) ซอยรามอินทรา 62 (ยังสว่าง) ซอยรามอินทรา 77 (มิตรทหาร) ซอยคู้บอน 6 (คู้บอน 3) ซอยคู้บอน 27 (สยามธรณี) ซอยนวมินทร์ 163 (อมรวิวัฒน์) ทางน้ำมีคลองแสนแสบและคลองบางชัน ใช้สัญจร สถานที่สำคัญ สไลเดอร์ยักษ์ในดินแดนวอเตอร์เวิลด์ สวนสยาม สวนสยาม นิคมอุตสาหกรรมบางชัน (ส่วนเขตคันนายาว) โรงพยาบาลนพรัตนราชธานี วัดราษฎร์ศรัทธาธรรม (วัดบางชัน)  วัดคลองครุ เทคโนโลยีดุสิต รามอินทรา โรงเรียนคันนายาว (ธารินเจริญสงเคราะห์) โรงเรียนจินดาบำรุง วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี นพรัตน์วชิระ แฟชั่นไอส์แลนด์ สนามกอล์ฟนวธานี สนามกอล์ฟ ปัญญาอินทรากอล์ฟคลับ คันนายาว เป็นแขวงหนึ่งของเขตคันนายาว กรุงเทพมหานคร ที่ตั้งและอาณาเขต แขวงคันนายาวตั้งอยู่ทางทิศตะวันออกของเขตคันนายาว มีอาณาเขตติดต่อกับแขวงข้างเคียงเรียงตามเข็มนาฬิกาดังนี้ ทิศเหนือ ติตต่อกับแขวงบางชัน (เขตคลองสามวา) มีคลองคู้บอนเป็นเส้นแบ่งเขต ทิศตะวันออก ติดต่อกับแขวงบางชัน (เขตคลองสามวา) และแขวงมีนบุรี (เขตมีนบุรี) มีคลองบางชันเป็นเส้นแบ่งเขต ทิศใต้ ติดต่อกับแขวงราษฎร์พัฒนา (เขตสะพานสูง) มีคลองแสนแสบเป็นเส้นแบ่งเขต ทิศตะวันตก ติดต่อกับแขวงรามอินทรา (เขตคันนายาว) มีถนนกาญจนาภิเษกฟากตะวันออกเป็นเส้นแบ่งเขต การคมนาคม ถนนสายหลักในพื้นที่แขวงคันนายาว ได้แก่ ถนนรามอินทรา ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 350 ถนนเสรีไทย ถนนสวนสยาม ถนนสายรองในพื้นที่แขวงคันนายาว ได้แก่ ถนนปัญญาอินทรา ถนนแยกสวนสยาม รามอินทรา เป็นแขวงหนึ่งของเขตคันนายาว กรุงเทพมหานคร ตั้งขึ้นเมื่อ พ.ศ. 2552 โดยแยกจากแขวงคันนายาว และได้ชื่อตามชื่อถนนรามอินทราซึ่งตัดผ่านตอนเหนือของท้องที่แขวง ที่ตั้งและอาณาเขต แขวงรามอินทราตั้งอยู่ทางทิศตะวันตกของเขตคันนายาว มีอาณาเขตติดต่อกับแขวงข้างเคียงเรียงตามเข็มนาฬิกาดังนี้ ทิศเหนือ ติตต่อกับแขวงท่าแร้ง (เขตบางเขน) และแขวงบางชัน (เขตคลองสามวา) มีคลองตาเร่ง คลองลำชะล่า คลองจรเข้บัว (หกขุด) คลองคู้ชุมเห็ด และคลองคู้บอนเป็นเส้นแบ่งเขต ทิศตะวันออก ติดต่อกับแขวงคันนายาว (เขตคันนายาว) มีถนนกาญจนาภิเษกฟากตะวันออกเป็นเส้นแบ่งเขต ทิศใต้ ติดต่อกับแขวงสะพานสูง (เขตสะพานสูง) มีคลองแสนแสบเป็นเส้นแบ่งเขต ทิศตะวันตก ติดต่อกับแขวงคลองกุ่มและแขวงนวลจันทร์ (เขตบึงกุ่ม) มีคลองกุ่ม ถนนเสรีไทย คลองระหัส คลองลำปลาดุก คลองหนองแขม คลองหลวงวิจิตร คลองบางชวดด้วน และถนนรามอินทราเป็นเส้นแบ่งเขต การคมนาคม ถนนสายหลักในพื้นที่แขวงรามอินทรา ได้แก่ ถนนกาญจนาภิเษก ถนนรามอินทรา ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 350 ถนนประเสริฐมนูกิจ ถนนนวมินทร์ ถนนเสรีไทย ถนนสายรองและทางลัดในพื้นที่แขวงรามอินทรา ได้แก่ ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 3901 (คู่ขนานกาญจนาภิเษกด้านนอก) ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 3902 (คู่ขนานกาญจนาภิเษกด้านใน) ถนนคู้บอน ซอยรามอินทรา 44 (หมู่บ้านปัฐวิกรณ์ 2) ซอยรามอินทรา 62 (ยังสว่าง) ซอยรามอินทรา 77 (มิตรทหาร) ซอยคู้บอน 6 (คู้บอน 3) ซอยคู้บอน 27 (สยามธรณี) ซอยนวมินทร์ 163 (อมรวิวัฒน์) รายละเอียดของเส้นทาง ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 304 แบ่งออกเป็น 8 ช่วง ได้แก่ ถนนแจ้งวัฒนะ ถนนรามอินทรา ถนนสุวินทวงศ์ ถนนมหาจักรพรรดิ์ ถนนศุขประยูร ช่วงฉะเชิงเทรา–กบินทร์บุรี ช่วงกบินทร์บุรี–ปักธงชัย และถนนสืบศิริ ถนนแจ้งวัฒนะ บทความหลัก: ถนนแจ้งวัฒนะ ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 304 เริ่มต้นกิโลเมตรที่ 0 ที่ทางแยกปากเกร็ด จุดตัดของถนนติวานนท์กับถนนแจ้งวัฒนะ ในอำเภอปากเกร็ด จังหวัดนนทบุรี มีเส้นทางไปตามถนนแจ้งวัฒนะทางตะวันออก ตัดกับถนนเลี่ยงเมืองปากเกร็ด แล้วตัดกับทางพิเศษอุดรรัถยาและทางพิเศษศรีรัช จากนั้นข้ามคลองประปาเข้าสู่เขตหลักสี่ กรุงเทพมหานคร ตัดกับถนนวิภาวดีรังสิต ที่ทางแยกหลักสี่ ข้ามคลองถนน เข้าสู่เขตบางเขน และตัดกับถนนพหลโยธินที่วงเวียนอนุสาวรีย์หลักสี่ (อนุสาวรีย์พิทักษ์รัฐธรรมนูญ) ระยะทาง (ไม่รวมช่วงท่าน้ำปากเกร็ดถึงแยกปากเกร็ด) 10.7 กิโลเมตร ถนนรามอินทรา ถนนรามอินทรา ช่วงที่มีการก่อสร้างรถไฟฟ้าสายสีชมพู ถนนรามอินทรา เริ่มจากวงเวียนอนุสาวรีย์หลักสี่ ในแขวงอนุสาวรีย์ เขตบางเขน ตัดออกไปทางตะวันออกเฉียงใต้ ผ่านแยกถนนลาดปลาเค้า ตัดกับถนนประดิษฐ์มนูธรรมและทางพิเศษฉลองรัช ผ่านตอนเหนือของเขตบึงกุ่ม แล้วเข้าสู่เขตคันนายาว ผ่านแยกถนนนวมินทร์ ตัดกับถนนกาญจนาภิเษก ผ่านแยกถนนรัชดาภิเษก–รามอินทรา ผ่านแยกถนนสวนสยาม ข้ามคลองบางชันเข้าสู่เขตมีนบุรี และสิ้นสุดที่ทางแยกเมืองมีน ระยะทาง 15.4 กิโลเมตร ถนนรามอินทราตั้งชื่อเพื่อเป็นเกียรติแก่พลตำรวจโท พระรามอินทรา (ดวง จุลัยยานนท์) อธิบดีกรมตำรวจระหว่าง พ.ศ. 2488 ถึง พ.ศ. 2489 ถนนสุวินทวงศ์ ถนนสุวินทวงศ์ เริ่มต้นจากปลายถนนรามอินทราที่ทางแยกเมืองมีน เขตมีนบุรี เลี้ยวซ้ายขึ้นไปทางตะวันออกเฉียงเหนือ ผ่านถนนหทัยราษฎร์ ถนนสามวา คลองสามวา ถนนร่มเกล้า และถนนนิมิตใหม่ แล้วลงไปทางตะวันออกเฉียงใต้ เข้าแขวงแสนแสบ ตัดกับถนนรามคำแหง ถนนราษฎร์อุทิศ ถนนบึงขวาง และถนนคุ้มเกล้า เข้าสู่แขวงโคกแฝดและแขวงลำผักชี เขตหนองจอก ผ่านถนนเชื่อมสัมพันธ์ ถนนฉลองกรุง ถนนอยู่วิทยา และถนนร่วมพัฒนา เข้าสู่แขวงลำต้อยติ่งและแขวงกระทุ่มราย ผ่านถนนทหารอากาศอุทิศ สถานีตำรวจนครบาลสุวินทวงศ์ สุดเขตกรุงเทพมหานครที่คลองหลวงแพ่ง เข้าสู่ตำบลศาลาแดง อำเภอบางน้ำเปรี้ยว จังหวัดฉะเชิงเทรา ผ่านตลาดสดสุวินทวงศ์ เข้าสู่อำเภอเมืองฉะเชิงเทรา สิ้นสุดที่สะพานข้ามทางรถไฟฉะเชิงเทรา ระยะทางรวม 42.5 กิโลเมตร ถนนสุวินทวงศ์เดิมมีชื่อเรียกว่า "ทางหลวงแผ่นดินสายมีนบุรี–ฉะเชิงเทรา–ปราจีนบุรี" ได้รับการตั้งชื่อดังกล่าวเมื่อวันที่ 10 ธันวาคม พ.ศ. 2493[1] ในสมัยที่จอมพล ป. พิบูลสงคราม เป็นนายกรัฐมนตรี เพื่อเป็นเกียรติแก่เกษม สุวินทวงศ์ ผู้ดำรงตำแหน่งนายช่างกำกับการเขตการทางปราจีนบุรีในขณะเริ่มก่อสร้างถนนสายนี้[ ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 350 สายรัชดาภิเษก–รามอินทรา เป็นเส้นทางการจราจรในเขตกรุงเทพมหานคร มีจุดเริ่มต้นโครงการจากถนนรัชดาภิเษก ใกล้กับมหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษมในท้องที่แขวงจันทรเกษม เขตจตุจักร ไปตัดกับถนนโชคชัย 4 ถนนประดิษฐ์มนูธรรม ถนนประเสริฐมนูกิจ ถนนนวมินทร์ ถนนกาญจนาภิเษก และไปสิ้นสุดที่ถนนรามอินทราในท้องที่แขวงคันนายาว เขตคันนายาว (แต่ในปัจจุบันได้ก่อสร้างเพียงช่วงถนนประเสริฐมนูกิจถึงถนนรามอินทราเท่านั้น) โดยก่อสร้างตั้งแต่ปี พ.ศ. 2549 แล้วเสร็จปลายปี พ.ศ. 2551 (เปิดการจราจรปี พ.ศ. 2552) เพื่อช่วยลดการจราจรของถนนรามอินทรา รถไฟฟ้ามหานคร สายสีชมพู หรือ โครงการรถไฟฟ้าสายสีชมพู ช่วงแคราย-มีนบุรี เป็นรถไฟฟ้ารางเดี่ยวที่อยู่ระหว่างการก่อสร้างในกรุงเทพมหานครและจังหวัดนนทบุรี มีระยะทางยาว 34.5 กิโลเมตร (21.4 ไมล์) จำนวน 30 สถานี ดำเนินการโดย บริษัท นอร์ทเทิร์น บางกอกโมโนเรล จำกัด โดยได้รับสัญญาสัมปทานในการดำเนินการตั้งแต่การก่อสร้างจนถึงการเปิดให้บริการจากการรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนแห่งประเทศไทย ดำเนินการในรูปแบบรถไฟฟ้ายกระดับแบบรางเดี่ยว มีแนวเส้นทางเริ่มต้นที่สถานีศูนย์ราชการนนทบุรี อันเป็นสถานีเชื่อมต่อกับ รถไฟฟ้ามหานคร สายฉลองรัชธรรม 
image
Guaranteed Results.
รับรองผลทุกคอร์ส
นักเรียนที่เรียนจบหลักสูตรจากบ้านครูตี๋  กว่า  90%  มีผลการเรียนดีขึ้น
และสามารถสอบเข้าโรงเรียนรัฐบาล  และมหาวิทยาลัยชั้นนำของรัฐได้
จากศิษย์เก่าบ้านครูตี๋กว่า 3,000 คน   ตลอดระยะเวลา 25 ปี 

image
Powered by MakeWebEasy.com
เว็บไซต์นี้มีการใช้งานคุกกี้ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพและประสบการณ์ที่ดีในการใช้งานเว็บไซต์ของท่าน ท่านสามารถอ่านรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว  และ  นโยบายคุกกี้