เรียนพิเศษเขตบางกอกใหญ่
 
คณิตศาสตร์      ฟิสิกส์       ภาษาอังกฤษ
แคลคูลัส
ความถนัดทางวิศวกรรมศาสตร์
O-Net    A-level    TGAT    TPAT    TPAT3    TCAS67
 

เปิดสอน   ระดับชั้นประถมศึกษา    มัธยมต้น    มัธยมปลาย
และระดับมหาวิทยาลัย

เพื่อการสอบเพิ่มเกรดประจำภาคเรียน
สอบเข้า ม.1     สอบเข้า ม.4
สอบ Admission     และสอบตรงเข้ามหาวิทยาลัย

"เน้นเรียนตัวต่อตัว    และกลุ่มย่อย 4 คน"

สำหรับนักเรียนที่มุ่งมั่นเข้าศึกษาต่อคณะวิศวกรรมศาสตร์ และคณะวิทยาศาสตร์
มหาวิทยาลัย TOP 10 ของประเทศ
 
สอนพิเศษตัวต่อตัว เรียนพิเศษตัวต่อตัว เรียนพิเศษกลุ่มย่อย สอนพิเศษกลุ่มย่อย วิชาคณิตศาสตร์ ฟิสิกส์ วิทยาศาสตร์ ภาษาอังกฤษ ความถนัดทางวิศวกรรม รับรองผล เรียนเพิ่มเกรด ติวเพิ่มเกรด  o-net  ติวสอบเข้า ม.1 ติวสอบเข้า ม.4  onsite เรียนออนไซต์  กวดวิชา ติว ครูคณิต กวดวิชา ติว ครูเลข ครูวิทย์ onsite ครูฟิสิกส์ ครูอังกฤษ กวดวิชา ติว  tutor วิทย์ ติวเตอร์ อาจารย์คณิต อาจารย์เลข อาจารย์วิทย์ อาจารย์ฟิสิกส์ อาจารย์อังกฤษ onsite เรียนออนไซต์ เรียนพิเศษใกล้ฉัน  เรียนพิเศษเลขกับติวเตอร์คนไหนดี? เรียนพิเศษคณิตศาสตร์กับติวเตอร์คนไหนดี? เรียนพิเศษฟิสิกส์กับติวเตอร์คนไหนดี? เรียนพิเศษวิทย์กับติวเตอร์คนไหนดี? วิทย์ เรียนพิเศษใกล้ฉัน เรียนพิเศษภาษาอังกฤษกับติวเตอร์คนไหนดี?  เรียนพิเศษที่ไหนดี? เรียนพิเศษคณิตศาสตร์ที่ไหนดี? เรียนพิเศษเลขที่ไหนดี? เรียนพิเศษวิทยาศาสตร์ที่ไหนดี? เรียนพิเศษฟิสิกส์ที่ไหนดี? เรียนพิเศษภาษาอังกฤษที่ไหนดี?  เรียนพิเศษวิทยาศาสตร์กับติวเตอร์คนไหนดี?  ติวเตอร์ tutor โรงเรียนกวดวิชา Quota โควตา TGAT TPAT Admission วิชาสามัญ GPAX GPA TPAT3 A-level คณิตศาสตร์ประยุกต์1 A-level คณิตศาสตร์ประยุกต์2  A-level วิทยาศาสตร์ประยุกต์ ติวเตอร์  A-level ฟิสิกส์ A-level ภาษาอังกฤษ  TGAT TPAT A-level Mathematics Physics Engineering Science TCAS dek66 dek67 dek68 TCAS66 TCAS67 TCAS68 pat1 pat2 pat3 gat ครูสอนพิเศษ อาจารย์สอนพิเศษ  ติวเตอร์ tutor  โรงเรียนกวดวิชา Quota โควตา TGAT TPAT Admission วิชาสามัญ GPAX GPA TPAT3 A-level คณิตศาสตร์ประยุกต์1 A-level คณิตศาสตร์ประยุกต์2  A-level วิทยาศาสตร์ประยุกต์ อยู่เขตบางกอกใหญ่เรียนพิเศษกับติวเตอร์คนไหนดี เรียนพิเศษคณิตศาสตร์เขตบางกอกใหญ่ เรียนพิเศษฟิสิกส์เขตบางกอกใหญ่ เรียนพิเศษภาษาอังกฤษเขตบางกอกใหญ่ หาติวเตอร์สอนคณิตศาสตร์เขตบางกอกใหญ่ หาติวเตอร์สอนฟิสิกส์เขตบางกอกใหญ่  หาติวเตอร์สอนภาษาอังกฤษเขตบางกอกใหญ่ ครูสอนคณิตศาสตร์เขตบางกอกใหญ่ ครูสอนฟิสิกส์เขตบางกอกใหญ่ สอนพิเศษตัวต่อตัวเขตบางกอกใหญ่ เรียนพิเศษตัวต่อตัวเขตบางกอกใหญ่ ติวสอบเข้ามหาวิทยาลัยเขตบางกอกใหญ่ เรียนวิทยาศาสตร์กับครูสอนวิทยาศาสตร์เขตบางกอกใหญ่ ครูเลขเขตบางกอกใหญ่ ครูวิทย์เขตบางกอกใหญ่ ติววิทยาศาสตร์เขตบางกอกใหญ่ ติววิทย์เขตบางกอกใหญ่ ติวคณิตเขตบางกอกใหญ่ ติวเลขเขตบางกอกใหญ่หาติวเตอร์สอนพิเศษเขตบางกอกใหญ่  อยู่เขตบางกอกใหญ่ โรงเรียนกวดวิชาเขตบางกอกใหญ่  โรงเรียนกวดวิชาเขตบางกอกใหญ่ สอนพิเศษคณิตศาสตร์เขตบางกอกใหญ่ สอนพิเศษวิทยาศาสตร์เขตบางกอกใหญ่ สอนพิเศษภาษาอังกฤษเขตบางกอกใหญ่ สอนพิเศษฟิสิกส์เขตบางกอกใหญ่ เรียนพิเศษคณิตศาสตร์บางกอกใหญ่ เรียนพิเศษวิทยาศาสตร์เขตบางกอกใหญ่ เรียนพิเศษภาษาอังกฤษเขตบางกอกใหญ่ เรียนพิเศษฟิสิกส์เขตบางกอกใหญ่
บางกอกใหญ่ เป็นหนึ่งในห้าสิบเขตของกรุงเทพมหานคร เป็นเขตอนุรักษ์เมืองเก่า แหล่งท่องเที่ยวเชิงประวัติศาสตร์และศิลปวัฒนธรรมทางฝั่งธนบุรี ที่ตั้งและอาณาเขต เขตบางกอกใหญ่ตั้งอยู๋ริมฝั่งขวาของแม่น้ำเจ้าพระยา (ฝั่งธนบุรี) มีอาณาเขตติดต่อ ดังนี้ ทิศเหนือ ติดต่อกับเขตตลิ่งชันและเขตบางกอกน้อย มีคลองมอญเป็นเส้นแบ่งเขต ทิศตะวันออก ติดต่อกับเขตพระนครและเขตธนบุรี มีแนวกึ่งกลางแม่น้ำเจ้าพระยาและคลองบางกอกใหญ่เป็นเส้นแบ่งเขต ทิศใต้ ติดต่อกับเขตธนบุรี มีคลองบางกอกใหญ่และคลองบางหลวงเป็นเส้นแบ่งเขต ทิศตะวันตก ติดต่อกับเขตภาษีเจริญ มีคลองบางกอกใหญ่เป็นเส้นแบ่งเขต ประวัติศาสตร์ ชื่อของเขตบางกอกใหญ่มีที่มาจากคลองบางกอกใหญ่ (คลองบางหลวง) ซึ่งเคยเป็นแม่น้ำเจ้าพระยาสายเดิมแต่แคบลงและกลายเป็นคลองหลังการขุดคลองลัดใน พ.ศ. 2095 เขตบางกอกใหญ่เคยเป็นที่ตั้งของกรุงธนบุรีเมื่อแรกเริ่ม ใน พ.ศ. 2458 มีชื่อเรียกว่า อำเภอหงสาราม ต่อมาได้เปลี่ยนชื่อเป็น อำเภอบางกอกใหญ่ ใน พ.ศ. 2481 จากนั้นถูกยุบลงเป็น กิ่งอำเภอบางกอกใหญ่ ขึ้นกับอำเภอบางยี่ขัน จนกระทั่งใน พ.ศ. 2501 มีพระราชกฤษฎีกาตั้งกิ่งอำเภอบางกอกใหญ่เป็น อำเภอบางกอกใหญ่ อีกครั้ง ต่อมามีประกาศคณะปฏิวัติให้รวมจังหวัดธนบุรีกับจังหวัดพระนครเข้าด้วยกันเป็นนครหลวงกรุงเทพธนบุรีใน พ.ศ. 2514 และเปลี่ยนรูปแบบเป็นกรุงเทพมหานครใน พ.ศ. 2515 ซึ่งได้เปลี่ยนคำว่าอำเภอเป็น "เขต" อำเภอบางกอกใหญ่จึงมีฐานะเป็น เขตบางกอกใหญ่ นับแต่นั้น การคมนาคม ถนนวังเดิม ถนนเพชรเกษม ถนนอรุณอมรินทร์ ถนนอิสรภาพ ถนนรัชดาภิเษก ถนนจรัญสนิทวงศ์ ถนนพาณิชยการธนบุรี รถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคล (สถานีท่าพระ, จรัญฯ 13 และอิสรภาพ) ทางน้ำ เรือด่วนเจ้าพระยา คลองบางกอกใหญ่ คลองมอญ สถานที่สำคัญ วัดอรุณราชวราราม วัดอรุณราชวราราม พระราชวังเดิม วัดหงส์รัตนาราม วัดเครือวัลย์วรวิหาร วัดโมลีโลกยาราม วัดราชสิทธาราม วัดใหม่พิเรนทร์ วัดนาคกลาง วัดท่าพระ วัดสังข์กระจาย วัดไชยฉิมพลี วัดประดู่ฉิมพลี สี่แยกท่าพระ โรงเรียนทวีธาภิเศก โรงเรียนฤทธิณรงค์รอน วิทยาลัยอาชีวศึกษาธนบุรี วิทยาลัยพณิชยการธนบุรี วิทยาลัยเทคโนโลยีสยาม โรงเรียนวิบูลย์เสรีวิทยา โรงเรียนสายประสิทธิ์วิทยา หอประชุมกองทัพเรือ กองบัญชาการกองทัพเรือ หอศิลป์ C13 Art Space สาขาวิชาวิจิตรศิลป์ วิทยาลัยอาชีวศึกษาธนบุรี วัดอรุณ เป็นแขวงหนึ่งในพื้นที่เขตบางกอกใหญ่ กรุงเทพมหานคร ที่ตั้งและอาณาเขต แขวงวัดอรุณตั้งอยู่ทางทิศตะวันออกของเขตบางกอกใหญ่ มีอาณาเขตติดต่อกับแขวงอื่นเรียงตามเข็มนาฬิกา ดังนี้ ทิศเหนือ ติดต่อกับแขวงบ้านช่างหล่อและแขวงศิริราช (เขตบางกอกน้อย) มีคลองมอญเป็นเส้นแบ่งเขต ทิศตะวันออก ติดต่อกับแขวงพระบรมมหาราชวัง (เขตพระนคร) มีแนวกึ่งกลางแม่น้ำเจ้าพระยาเป็นเส้นแบ่งเขต ทิศใต้ ติดต่อกับแขวงวัดกัลยาณ์ (เขตธนบุรี) และแขวงวัดท่าพระ (เขตบางกอกใหญ่) มีคลองบางกอกใหญ่และถนนอิสรภาพเป็นเส้นแบ่งเขต ทิศตะวันตก ติดต่อกับแขวงวัดท่าพระ (เขตบางกอกใหญ่) มีถนนอิสรภาพเป็นเส้นแบ่งเขต วัดท่าพระ เป็นแขวงหนึ่งในพื้นที่เขตบางกอกใหญ่ กรุงเทพมหานคร ที่ตั้งและอาณาเขต แขวงวัดท่าพระตั้งอยู่ทางตอนกลางและตะวันตกของเขตบางกอกใหญ่ มีอาณาเขตติดต่อกับแขวงอื่นเรียงตามเข็มนาฬิกา ดังนี้ ทิศเหนือ ติดต่อกับแขวงบางขุนศรีและแขวงบ้านช่างหล่อ (เขตบางกอกน้อย) มีคลองมอญเป็นเส้นแบ่งเขต ทิศตะวันออก ติดต่อกับแขวงวัดอรุณ (เขตบางกอกใหญ่) และแขวงหิรัญรูจี (เขตธนบุรี) มีถนนอิสรภาพและคลองบางกอกใหญ่เป็นเส้นแบ่งเขต ทิศใต้ ติดต่อกับแขวงบางยี่เรือ แขวงตลาดพลู (เขตธนบุรี) และแขวงปากคลองภาษีเจริญ (เขตภาษีเจริญ) มีคลองบางกอกใหญ่เป็นเส้นแบ่งเขต ทิศตะวันตก ติดต่อกับแขวงปากคลองภาษีเจริญและแขวงคูหาสวรรค์ (เขตภาษีเจริญ) มีคลองบางกอกใหญ่เป็นเส้นแบ่งเขต ถนนวังเดิม (อักษรโรมัน: Thanon Wang Doem) เป็นถนนสายหนึ่งในพื้นที่แขวงวัดอรุณ เขตบางกอกใหญ่ กรุงเทพมหานคร มีระยะทางยาว 837 เมตร มีจุดเริ่มต้นจากทางแยกโพธิ์สามต้นซึ่งเป็นจุดตัดกับถนนอิสรภาพ ไปทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือ ผ่านแนวคูข้างกรมวิทยาศาสตร์ทหารเรือ (เดิม) ตัดกับถนนอรุณอมรินทร์ที่ทางแยกวังเดิม ข้ามคลองบ้านหม้อ (คลองวัดท้ายตลาด) จากนั้นโค้งไปทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือ ผ่านกองบัญชาการกองทัพเรือ เลียบกำแพงวัดอรุณราชวราราม ข้ามคลองวัดอรุณ โค้งไปทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือและทิศตะวันตกเฉียงใต้ ไปสิ้นสุดที่ถนนอรุณอมรินทร์บริเวณคลองบ้านหม้อ ถนนวังเดิมเป็น "ถนนสายที่ 6" ในโครงการตัดและขยายถนน 11 สายในจังหวัดธนบุรีและจังหวัดพระนครเพื่อรองรับการก่อสร้างสะพานปฐมบรมราชานุสรณ์ (สะพานพระพุทธยอดฟ้า) เมื่อปี พ.ศ. 2472 ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว 
โดยถนนสายนี้เป็นหนึ่งในถนนซอย 6 สายที่ตัดจากริมแม่น้ำเจ้าพระยาเพื่อเชื่อมต่อกับถนนหลัก 4 สายแรก มีแนวเส้นทางเริ่มตั้งแต่ริมแม่น้ำเจ้าพระยาทางด้านเหนือของกำแพงพระราชวังเดิม ไปผ่านถนนสายที่ 2 (ปัจจุบันคือถนนอรุณอมรินทร์) ไปออกถนนสายที่ 3 (ปัจจุบันคือถนนอิสรภาพ) กว้าง 16 เมตร ยาวประมาณ 830 เมตร ตามพระราชกฤษฎีกาว่าด้วยการจัดซื้อที่ดินและอสังหาริมทรัพย์อย่างอื่น เพื่อตัดและขยายถนนฝั่งจังหวัดธนบุรีและจังหวัดพระนคร พ.ศ. 2473 ถนนสายที่ 6 เริ่มก่อสร้างในปี พ.ศ. 2474[2] สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาดำรงราชานุภาพ ทรงตั้งชื่อถนนถวายพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวว่า ถนนวังเดิม เพื่อรักษาชื่อพระราชวังครั้งกรุงธนบุรีไว้ พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวได้ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานชื่อถนนสายนี้ตามที่สมเด็จฯ กรมพระยาดำรงราชานุภาพทรงเสนอ อย่างไรก็ตาม แนวโครงการถนนสายที่ 6 ช่วงที่ผ่านกำแพงพระราชวังเดิมนั้นอยู่ในเขตกองทัพเรือ แนวถนนวังเดิมที่เป็นทางสาธารณะจึงสิ้นสุดอยู่ที่ปลายถนนอรุณอมรินทร์ตรงหัวมุมหน้ากองบัญชาการกองทัพเรือ ภายหลังทางราชการได้ตัดถนนอรุณอมรินทร์สายใหม่จากใต้วัดเครือวัลย์วรวิหารไปออกถนนประชาธิปก ทำให้ถนนอรุณอมรินทร์สายเก่า (ช่วงที่ผ่านวัดอรุณราชวราราม) ซึ่งมีเขตทางแคบ ๆ กลายเป็นแนวต่อเนื่องกับถนนวังเดิมไป จากนั้นในปี พ.ศ. 2547 กรุงเทพมหานครก็ได้อนุมัติให้สำนักงานเขตบางกอกใหญ่รวมถนนอรุณอมรินทร์สายเก่าเข้าเป็นระยะทางส่วนหนึ่งของถนนวังเดิม ถนนอรุณอมรินทร์ [อะ-รุน-อำ-มะ-ริน] (อักษรโรมัน: Thanon Arun Ammarin) เป็นถนนสายสำคัญสายหนึ่งในฝั่งธนบุรี กรุงเทพมหานคร ประวัติ ถนนอรุณอมรินทร์เป็น "ถนนสายที่ 2" ในโครงการตัดและขยายถนน 11 สายในจังหวัดธนบุรีและจังหวัดพระนคร ซึ่งเกิดขึ้นหลังจากการก่อสร้างสะพานปฐมบรมราชานุสรณ์ (สะพานพระพุทธยอดฟ้า) เมื่อปี พ.ศ. 2472 รัชสมัยพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว โดยกำหนดแนวเส้นทางไว้ตั้งแต่วัดอมรินทราราม มาทางถนนบ้านขมิ้น ข้ามคลองบางกอกใหญ่ ผ่านถนนสายที่ 1 (ปัจจุบันคือถนนประชาธิปก) แล้วตรงไปตามแนวถนนคลองสานซึ่งมีอยู่แล้ว ไปบรรจบกับถนนสายที่ 4 (ปัจจุบันคือถนนลาดหญ้า) ที่ปากคลองสาน ยาวประมาณ 4,900 เมตร กว้าง 23 เมตร ตามพระราชกฤษฎีกาว่าด้วยการจัดซื้อที่ดินและอสังหาริมทรัพย์อย่างอื่น เพื่อตัดและขยายถนนฝั่งจังหวัดธนบุรีและจังหวัดพระนคร ถนนสายที่ 2 สร้างและขยายใหม่ตามแนวถนนที่สมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาศรีสุริยวงศ์ (ช่วง บุนนาค) ได้สร้างไว้ รวมทั้งยังเป็นที่ตั้งจวน (บ้าน) ของสมเด็จเจ้าพระยาถึง 4 ท่านอีกด้วย ได้แก่ สมเด็จเจ้าพระยามหากษัตริย์ศึก (พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช) สมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาประยุรวงศ์ (ดิศ บุนนาค) สมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาพิไชยญาติ (ทัต บุนนาค) และสมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาศรีสุริยวงศ์ (ช่วง บุนนาค) ดังนั้น สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาดำรงราชานุภาพจึงทรงตั้งชื่อถนนถวายพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวว่า ถนนสมเด็จเจ้าพระยา อย่างไรก็ตาม ถนนสายนี้ตัดสำเร็จเฉพาะส่วนปลาย โดยแยกออกเป็นสองด้านและมีเส้นทางไม่ต่อเนื่องกัน กล่าวคือ ส่วนปลายด้านหนึ่งจากวัดพิชยญาติการามถึงปากคลองสานซึ่งยังคงใช้ชื่อว่าถนนสมเด็จเจ้าพระยามาจนถึงปัจจุบัน และส่วนปลายอีกด้านมีระยะทางเริ่มต้นจากวัดอรุณราชวรารามขึ้นไปจนถึงวัดอมรินทราราม ในเวลาต่อมาทางการจึงเปลี่ยนชื่อถนนส่วนนี้เป็น ถนนอรุณอมรินทร์ ต่อมาจึงมีการตัดถนนอรุณอมรินทร์ขึ้นไปทางเหนือ โดยข้ามคลองบางกอกน้อยบริเวณใกล้วัดอมรินทรารามและอู่เรือหลวง ไปตัดกับถนนสมเด็จพระปิ่นเกล้าและบรรจบซอยจรัญสนิทวงศ์ 40 (อัศวมิตร) โดยเป็นหนึ่งในโครงการตัดถนนตามพระราชกฤษฎีกากำหนดที่ดินในบริเวณที่ที่จะเวนคืน ในท้องที่ตำบลบางยี่ขันและตำบลศิริราช อำเภอบางกอกน้อย จังหวัดธนบุรี พ.ศ. 2509 เพื่อตัดถนนให้รับกับคอสะพานที่จะสร้างข้ามแม่น้ำเจ้าพระยา (ปัจจุบันคือสะพานสมเด็จพระปิ่นเกล้า) และสะพานข้ามคลองบางกอกน้อย (ปัจจุบันคือสะพานอรุณอมรินทร์)
ส่วนถนนตอนกลางที่เชื่อมระหว่างสองส่วนดังกล่าวเพิ่งสร้างสำเร็จตลอดสายเมื่อไม่นานมานี้ ตามพระราชกฤษฎีกากำหนดที่ดินในบริเวณที่ที่จะเวนคืน เพื่อสร้างทางหลวงเทศบาลสายอรุณอมรินทร์ ตอนแยกถนนวังเดิม-บรรจบถนนประชาธิปก พ.ศ. 2536 โดยแนวถนนบางช่วงเปลี่ยนแปลงไปจากแนวเวนคืนที่ปรากฏในพระราชกฤษฎีกาเมื่อปี พ.ศ. 2473 เนื่องจากผ่านมัสยิดต้นสนและโรงเรียนศึกษานารี ปัจจุบันถนนตัดใหม่สายนี้ถือเป็นส่วนหนึ่งของถนนอรุณอมรินทร์ บางครั้งเรียกว่า "ถนนอรุณอมรินทร์ตัดใหม่" ส่วนถนนอรุณอมรินทร์สายเดิมจากวัดเครือวัลย์วรวิหาร (ผ่านวัดอรุณราชวราราม) ถึงกองทัพเรือนั้น กลายเป็นส่วนหนึ่งของถนนวังเดิม ในปี พ.ศ. 2541 ทางราชการได้ออกพระราชกฤษฎีกากำหนดที่ดินในบริเวณที่ที่จะเวนคืน เพื่อสร้างทางหลวงเทศบาลสายเชื่อมระหว่างถนนวิสุทธิกษัตริย์กับถนนอรุณอมรินทร์ เพื่อสร้างความสะดวกรวดเร็วแก่การจราจรขนส่ง เมื่อการก่อสร้างแล้วเสร็จ ถนนอรุณอมรินทร์ตอนเหนือจึงมีระยะทางเพิ่มขึ้นอีก โดยต่อจากถนนเดิมที่บรรจบกับซอยจรัญสนิทวงศ์ 40 (ปัจจุบันคือซอยอรุณอมรินทร์ 30 และซอยอรุณอมรินทร์ 49) แล้วโค้งไปทางทิศตะวันออก ซ้อนกับแนวซอยจรัญสนิทวงศ์ 40 ก่อนจะตรงไปรับกับตัวสะพานพระราม 8 ถนนอรุณอมรินทร์มีเส้นทางเริ่มต้นจากถนนประชาธิปกใกล้กับโรงเรียนศึกษานารีและวงเวียนเล็กเดิม ในพื้นที่แขวงวัดกัลยาณ์ เขตธนบุรี ไปทางทิศตะวันตกและวกไปทิศตะวันตกเฉียงเหนือ ข้ามสะพานอนุทินสวัสดิ์ (คลองบางกอกใหญ่) เข้าพื้นที่แขวงวัดอรุณ เขตบางกอกใหญ่ ตัดกับถนนวังเดิมที่ทางแยกวังเดิม ข้ามคลองมอญเข้าพื้นที่แขวงศิริราช เขตบางกอกน้อย จากนั้นเลียบคลองบ้านขมิ้นไปและตัดกับซอยอิสรภาพ 44 ที่ทางแยกบ้านขมิ้น และเริ่มตรงขึ้นไปทางทิศเหนือ ตัดกับถนนวังหลังที่ทางแยกศิริราช ข้ามสะพานอรุณอมรินทร์ (คลองบางกอกน้อย) เข้าพื้นที่แขวงอรุณอมรินทร์ โค้งไปทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือ ตัดกับถนนสมเด็จพระปิ่นเกล้าที่ทางแยกอรุณอมรินทร์ เข้าพื้นที่แขวงบางยี่ขัน เขตบางพลัด แล้วเลียบใต้ถนนคู่ขนานลอยฟ้าพระบรมราชชนนี ข้ามสะพานบางยี่ขัน (คลองบางยี่ขัน) แล้วโค้งไปทางทิศตะวันออกเมื่อผ่านวัดอมรคีรี ไปสิ้นสุดที่สะพานพระราม 8 สถาบันวิมุตตยาลัย โรงเรียนศึกษานารี วัดอรุณราชวรารามราชวรมหาวิหาร กองบัญชาการกองทัพเรือ พระราชวังเดิม วัดเครือวัลย์วรวิหาร กรมอู่ทหารเรือ ราชนาวิกสภา หอประชุมกองทัพเรือ วัดระฆังโฆสิตารามวรมหาวิหาร โรงพยาบาลศิริราช วัดอมรินทราราม พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ เรือพระราชพิธี รถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคล (ท่าพระ-บางซื่อ-หัวลำโพง-หลักสอง-พุทธมณฑล สาย 4) (อังกฤษ: Metropolitan Rapid Transit Chaleom Ratchamongkon Line) หรือ รถไฟฟ้ามหานคร สายสีน้ำเงิน (อังกฤษ: MRT Blue Line) ซึ่งเรียกตามสีที่กำหนดในแผนแม่บทโครงการระบบขนส่งมวลชนทางรางในกรุงเทพมหานครและปริมณฑล ประชาชนนิยมเรียกว่า "รถไฟฟ้าใต้ดิน" เนื่องมาจากช่วงเริ่มแรกให้บริการรถไฟฟ้าเส้นนี้ เส้นทางเป็นระบบใต้ดินแห่งแรกของประเทศไทย ดำเนินการโดย บริษัท ทางด่วนและรถไฟฟ้ากรุงเทพ จำกัด (มหาชน) (BEM) โดยได้รับสัมปทานจาก การรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนแห่งประเทศไทย เริ่มก่อสร้างในปี พ.ศ. 2539 และหลังจากที่เกิดความล่าช้าขึ้นหลายครั้ง ในที่สุดได้เปิดให้สาธารณชนทดลองใช้งานในวงจำกัดเมื่อวันที่ 13 เมษายน พ.ศ. 2547 และมีพิธีเปิดอย่างเป็นทางการในวันที่ 3 กรกฎาคม ปีเดียวกัน โดยในระยะแรก เส้นทางช่วง หัวลำโพง-ศูนย์ฯ สิริกิติ์-บางซื่อ จะเป็นเส้นทางยกระดับเกือบทั้งหมดโดยรัฐเป็นผู้ลงทุน แต่ภายหลังใหัเอกชนลงทุนและเปลี่ยนเป็นใต้ดินทั้งหมด โดยรัฐบาลมีมติเมื่อ 12 กันยายน 2538 ให้ก่อสร้างใต้ดิน รัฐเป็นผู้ลงทุนโยธา ส่วนเอกชนเป็นผู้ดำเนินระบบรถไฟฟ้าและกิจการ


image
Guaranteed Results.
รับรองผลทุกคอร์ส
นักเรียนที่เรียนจบหลักสูตรจากบ้านครูตี๋  กว่า  90%  มีผลการเรียนดีขึ้น
และสามารถสอบเข้าโรงเรียนรัฐบาล  และมหาวิทยาลัยชั้นนำของรัฐได้
จากศิษย์เก่าบ้านครูตี๋กว่า 3,000 คน   ตลอดระยะเวลา 25 ปี 

image
Powered by MakeWebEasy.com
เว็บไซต์นี้มีการใช้งานคุกกี้ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพและประสบการณ์ที่ดีในการใช้งานเว็บไซต์ของท่าน ท่านสามารถอ่านรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว  และ  นโยบายคุกกี้