เรียนพิเศษเขตบึงกุ่ม
 
คณิตศาสตร์      ฟิสิกส์       ภาษาอังกฤษ
แคลคูลัส
ความถนัดทางวิศวกรรมศาสตร์
O-Net    A-level    TGAT    TPAT    TPAT3    TCAS67
 

เปิดสอน   ระดับชั้นประถมศึกษา    มัธยมต้น    มัธยมปลาย
และระดับมหาวิทยาลัย

เพื่อการสอบเพิ่มเกรดประจำภาคเรียน
สอบเข้า ม.1     สอบเข้า ม.4
สอบ Admission     และสอบตรงเข้ามหาวิทยาลัย

"เน้นเรียนตัวต่อตัว    และกลุ่มย่อย 4 คน"

สำหรับนักเรียนที่มุ่งมั่นเข้าศึกษาต่อคณะวิศวกรรมศาสตร์ และคณะวิทยาศาสตร์
มหาวิทยาลัย TOP 10 ของประเทศ
 
สอนพิเศษตัวต่อตัว เรียนพิเศษตัวต่อตัว เรียนพิเศษกลุ่มย่อย สอนพิเศษกลุ่มย่อย วิชาคณิตศาสตร์ ฟิสิกส์ วิทยาศาสตร์ ภาษาอังกฤษ ความถนัดทางวิศวกรรม รับรองผล เรียนเพิ่มเกรด ติวเพิ่มเกรด  o-net  ติวสอบเข้า ม.1 ติวสอบเข้า ม.4  onsite เรียนออนไซต์  กวดวิชา ติว ครูคณิต กวดวิชา ติว ครูเลข ครูวิทย์ onsite ครูฟิสิกส์ ครูอังกฤษ กวดวิชา ติว  tutor วิทย์ ติวเตอร์ อาจารย์คณิต อาจารย์เลข อาจารย์วิทย์ อาจารย์ฟิสิกส์ อาจารย์อังกฤษ onsite เรียนออนไซต์ เรียนพิเศษใกล้ฉัน  เรียนพิเศษเลขกับติวเตอร์คนไหนดี? เรียนพิเศษคณิตศาสตร์กับติวเตอร์คนไหนดี? เรียนพิเศษฟิสิกส์กับติวเตอร์คนไหนดี? เรียนพิเศษวิทย์กับติวเตอร์คนไหนดี? วิทย์ เรียนพิเศษใกล้ฉัน เรียนพิเศษภาษาอังกฤษกับติวเตอร์คนไหนดี?  เรียนพิเศษที่ไหนดี? เรียนพิเศษคณิตศาสตร์ที่ไหนดี? เรียนพิเศษเลขที่ไหนดี? เรียนพิเศษวิทยาศาสตร์ที่ไหนดี? เรียนพิเศษฟิสิกส์ที่ไหนดี? เรียนพิเศษภาษาอังกฤษที่ไหนดี?  เรียนพิเศษวิทยาศาสตร์กับติวเตอร์คนไหนดี?  ติวเตอร์ tutor โรงเรียนกวดวิชา Quota โควตา TGAT TPAT Admission วิชาสามัญ GPAX GPA TPAT3 A-level คณิตศาสตร์ประยุกต์1 A-level คณิตศาสตร์ประยุกต์2  A-level วิทยาศาสตร์ประยุกต์ ติวเตอร์  A-level ฟิสิกส์ A-level ภาษาอังกฤษ  TGAT TPAT A-level Mathematics Physics Engineering Science TCAS dek66 dek67 dek68 TCAS66 TCAS67 TCAS68 pat1 pat2 pat3 gat ครูสอนพิเศษ อาจารย์สอนพิเศษ  ติวเตอร์ tutor  โรงเรียนกวดวิชา Quota โควตา TGAT TPAT Admission วิชาสามัญ GPAX GPA TPAT3 A-level คณิตศาสตร์ประยุกต์1 A-level คณิตศาสตร์ประยุกต์2  A-level วิทยาศาสตร์ประยุกต์
อยู่เขตบึงกุ่มเรียนพิเศษกับติวเตอร์คนไหนดี เรียนพิเศษคณิตศาสตร์เขตบึงกุ่ม เรียนพิเศษฟิสิกส์เขตบึงกุ่ม เรียนพิเศษภาษาอังกฤษเขตบึงกุ่ม หาติวเตอร์สอนคณิตศาสตร์เขตบึงกุ่ม หาติวเตอร์สอนฟิสิกส์เขตบึงกุ่ม  หาติวเตอร์สอนภาษาอังกฤษเขตบึงกุ่ม ครูสอนคณิตศาสตร์เขตบึงกุ่ม ครูสอนฟิสิกส์เขตบึงกุ่ม สอนพิเศษตัวต่อตัวเขตบึงกุ่ม เรียนพิเศษตัวต่อตัวเขตบึงกุ่ม  ติวสอบเข้ามหาวิทยาลัยเขตบึงกุ่ม เรียนวิทยาศาสตร์กับครูสอนวิทยาศาสตร์เขตบึงกุ่ม ครูเลขเขตบึงกุ่ม ครูวิทย์เขตบึงกุ่ม ติววิทยาศาสตร์เขตบึงกุ่ม ติววิทย์เขตบึงกุ่ม ติวคณิตเขตบึงกุ่ม ติวเลขเขตบึงกุ่มหาติวเตอร์สอนพิเศษเขตบึงกุ่ม  อยู่เขตบึงกุ่ม โรงเรียนกวดวิชาเขตบึงกุ่ม     โรงเรียนกวดวิชาเขตบึงกุ่ม สอนพิเศษคณิตศาสตร์เขตบึงกุ่ม สอนพิเศษวิทยาศาสตร์เขตบึงกุ่ม สอนพิเศษภาษาอังกฤษเขตบึงกุ่ม สอนพิเศษฟิสิกส์เขตบึงกุ่ม เรียนพิเศษคณิตศาสตร์บึงกุ่ม เรียนพิเศษวิทยาศาสตร์เขตบึงกุ่ม เรียนพิเศษภาษาอังกฤษเขตบึงกุ่ม เรียนพิเศษฟิสิกส์เขตบึงกุ่ม
บึงกุ่ม เป็นหนึ่งในห้าสิบเขตของกรุงเทพมหานคร สภาพโดยทั่วไปเป็นแหล่งที่อยู่อาศัยหนาแน่นน้อย โดยมีย่านการค้าหนาแน่นทางตอนกลางของพื้นที่ ที่ตั้งและอาณาเขต เขตบึงกุ่มตั้งอยู่ทางตอนกลางของฝั่งพระนคร มีอาณาเขตติดต่อกับพื้นที่การปกครองต่าง ๆ เรียงตามเข็มนาฬิกาดังนี้ ทิศเหนือ ติดต่อกับเขตบางเขนและเขตคันนายาว มีคลองตาเร่งและถนนรามอินทราเป็นเส้นแบ่งเขต ทิศตะวันออก ติดต่อกับเขตคันนายาว มีคลองบางชวดด้วน คลองหลวงวิจิตร คลองลำชะล่า คลองหนองแขม คลองลำปลาดุก คลองระหัส ถนนเสรีไทย และคลองกุ่มเป็นเส้นแบ่งเขต ทิศใต้ ติดต่อกับเขตสะพานสูง มีคลองแสนแสบเป็นเส้นแบ่งเขต ทิศตะวันตก ติดต่อกับเขตบางกะปิและเขตลาดพร้าว มีคลองแสนแสบ ถนนศรีบูรพา ถนนนวมินทร์ คลองลำพังพวย คลองตาหนัง คลองลำเจียก คลองอ้ายหลาว คลองเกรียง และถนนประดิษฐ์มนูธรรมเป็นเส้นแบ่งเขต ที่มาของชื่อเขต ประมาณ พ.ศ. 2386 รัชสมัยพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว เจ้าพระยาบดินทรเดชา (สิงห์ สิงหเสนี) ได้ยกทัพไปปราบกบฏที่เมืองนครจำปาศักดิ์และเมืองหลวงพระบางจนได้รับชัยชนะ และได้กวาดต้อนครอบครัวจากหัวเมืองรายทางเข้ามายังกรุงเทพมหานคร โดยให้ตั้งถิ่นฐานอยู่ในพื้นที่เขตบึงกุ่มและเขตคันนายาวในปัจจุบัน ในย่านนั้นมีคลองสายหนึ่งซึ่งแยกจากคลองแสนแสบและไหลผ่านบึงเก่าแก่ที่มีขนาดใหญ่ มีต้นกุ่มขึ้นอยู่เป็นจำนวนมาก จึงเรียกแหล่งน้ำสองแห่งนั้นว่า "คลองกุ่ม" และ "บึงกุ่ม" ประวัติ เมื่อมีผู้คนอพยพเข้าไปอาศัยและทำมาหากินในบริเวณนี้เพิ่มขึ้น ย่านคลองกุ่มและพื้นที่ใกล้เคียงจึงได้รับการจัดตั้งเป็น ตำบลคลองกุ่ม เป็นตำบลหนึ่งที่ขึ้นกับอำเภอบางกะปิ จังหวัดพระนคร โดยกระทรวงมหาดไทยก็ได้ขยายเขตสุขาภิบาลบางกะปิให้ครอบคลุมถึงตำบลคลองกุ่มด้วยใน พ.ศ. 2506
ใน พ.ศ. 2514 จังหวัดพระนครถูกรวมเข้ากับจังหวัดธนบุรี เปลี่ยนฐานะเป็นนครหลวงกรุงเทพธนบุรี และใน พ.ศ. 2515 จึงเปลี่ยนแปลงฐานะเป็นกรุงเทพมหานคร ซึ่งได้เปลี่ยนคำเรียกเขตการปกครองใหม่ ตำบลคลองกุ่มได้รับการเปลี่ยนแปลงฐานะเป็น แขวงคลองกุ่ม อยู่ในการปกครองของเขตบางกะปิ เนื่องจากเขตบางกะปิมีพื้นที่กว้างขวางมากและมีประชากรหนาแน่นขึ้น เพื่อความสะดวกในการบริหารราชการ ในวันที่ 4 กันยายน พ.ศ. 2532 กระทรวงมหาดไทยจึงเปลี่ยนแปลงพื้นที่การปกครองใหม่โดยแยกแขวงคลองกุ่ม แขวงคันนายาว และแขวงสะพานสูงมาจัดตั้งเป็นเขตใหม่โดยใช้ชื่อว่า เขตบึงกุ่ม เนื่องจากตั้งสำนักงานเขตอยู่ใกล้กับสวนสาธารณะบึงกุ่ม จนกระทั่ง พ.ศ. 2540 กระทรวงมหาดไทยประกาศเปลี่ยนแปลงพื้นที่เขตบึงกุ่ม โดยยกฐานะแขวงคันนายาวรวมกับพื้นที่บางส่วนของแขวงคลองกุ่ม ขึ้นเป็นเขตคันนายาว และยกฐานะแขวงสะพานสูงขึ้นเป็นเขตสะพานสูง 
ตราสัญลักษณ์ประจำเขต ตราสัญลักษณ์ประจำเขตบึงกุ่ม มีลักษณะเป็นตรารูปวงกลม มีองค์ประกอบสำคัญต่างๆ และความหมายดังนี้ พื้นน้ำสีฟ้าคราม แทนความหมายของความสงบสุข ร่มเย็น เป็นน้ำหนึ่งใจเดียวกัน ดอกกุ่มสามดอก แทนความหมายของประชาชนในพื้นที่เขตบึงกุ่มทั้งสามศาสนา ทั้งไทยพุทธ คริสต์ อิสลาม ที่อยู่ร่วมกันด้วยความรัก สามัคคี
นกสองตัวบินอยู่บนท้องฟ้าเหนือพื้นดิน ผืนน้ำ แทนความหมายของความเป็นอิสระในความคิด แสดงถึงการเป็นผู้นำและผู้ตามที่ดี มีความสอดคล้องและเดินไปในทิศทางเดียวกัน รูปวงกลมล้อมรอบเครื่องหมายข้างต้นทั้งหมด แทนความหมายของความสมานสามัคคี ความกลมเกลียวกัน การคมนาคม ถนนนวมินทร์ ช่วงใกล้กับโรงเรียนบดินทรเดชา (สิงห์ สิงหเสนี) ๒ ในพื้นที่เขตบึงกุ่มมีทางสายหลัก ได้แก่ ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 350 (รัชดาภิเษก–รามอินทรา) ถนนประเสริฐมนูกิจ (เกษตร–นวมินทร์–กาญจนาภิเษก) ถนนนวมินทร์ ถนนเสรีไทย รถไฟฟ้าสายสีชมพู (กำลังก่อสร้าง) ส่วนทางสายรองและทางลัด ได้แก่ ถนนโพธิ์แก้ว ถนนนวลจันทร์ ถนนคลองลำเจียก ถนนสุคนธสวัสดิ์ ซอยรามอินทรา 40 (นวลจันทร์) ซอยนวลจันทร์ 36 (ผู้ใหญ่สุนทร) ซอยนวลจันทร์ 36 แยก 5 / ซอยนวลจันทร์ 56 (โพธิ์สุวรรณ) ซอยนวมินทร์ 42 (สุวรรณประสิทธิ์) ซอยนวมินทร์ 70 (หมู่บ้านปัฐวิกรณ์ 1) ซอยนวมินทร์ 74 และซอยนวมินทร์ 74 แยก 3 (สำนักสงฆ์) ซอยนวมินทร์ 81 (โอฬาร 2) ซอยนวมินทร์ 88 (ปัญจมิตร 2) ซอยนวมินทร์ 111 (สมาคมแพทย์) ซอยนวมินทร์ 145 (สวัสดี) ซอยนวมินทร์ 157 (สิงหเสนี 2) ซอยนวมินทร์ 163 (อมรวิวัฒน์) ซอยเสรีไทย 57 (หมู่บ้านสหกรณ์) 
สถานที่สำคัญ สวนเสรีไทย พิพิธภัณฑ์เสรีไทยอนุสรณ์ พิพิธภัณฑ์บึงกุ่ม สวนเฉลิมพระเกียรติ โรงเรียนนวมินทราชูทิศ กรุงเทพมหานคร โรงเรียนบดินทรเดชา (สิงห์ สิงหเสนี) ๒ โรงเรียนวัดพิชัย โรงเรียนพิชัยพัฒนา โรงเรียนสุขุมนวพันธ์อุปถัมภ์ วัดสุวรรณประสิทธิ์ วัดพิชัย วัดบางเตย โลตัส สาขาสุขาภิบาล 1 สยามแม็คโคร สาขานวมินทร์ 70 สวนนวมินทร์ภิรมย์ วัดนวลจันทร์ ศูนย์ประติมากรรมกรุงเทพฯ บริษัทสหฟาร์มจำกัด สำนักงาน เขตบึงกุ่ม 
คลองกุ่ม เป็นแขวงหนึ่งในเขตบึงกุ่ม กรุงเทพมหานคร ที่ตั้งและอาณาเขต แขวงคลองกุ่มตั้งอยู่ทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ของเขตบึงกุ่ม มีอาณาเขตติดต่อกับแขวงข้างเคียงเรียงตามเข็มนาฬิกาดังนี้


ทิศเหนือ ติดต่อกับแขวงนวลจันทร์ (เขตบึงกุ่ม) มีถนนนวมินทร์และทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 350 เป็นเส้นแบ่งเขตทิศตะวันออก ติดต่อกับแขวงรามอินทรา (เขตคันนายาว) มีคลองหนองแขม คลองลำปลาดุก คลองระหัส ถนนเสรีไทย และคลองกุ่มเป็นเส้นแบ่งเขตทิศใต้ ติดต่อกับแขวงสะพานสูง (เขตสะพานสูง) และแขวงหัวหมาก (เขตบางกะปิ) มีคลองแสนแสบเป็นเส้นแบ่งเขตทิศตะวันตก ติดต่อกับแขวงคลองจั่น (เขตบางกะปิ) และแขวงนวมินทร์ (เขตบึงกุ่ม) มีถนนศรีบูรพาและถนนนวมินทร์เป็นเส้นแบ่งเขต นวมินทร์ เป็นแขวงหนึ่งในเขตบึงกุ่ม กรุงเทพมหานคร แขวงนวมินทร์ตั้งอยู่ทางทิศตะวันตกของเขตบึงกุ่ม มีอาณาเขตติดต่อกับแขวงข้างเคียงเรียงตามเข็มนาฬิกาดังนี้ ทิศเหนือ ติดต่อกับแขวงนวลจันทร์ (เขตบึงกุ่ม) มีถนนประเสริฐมนูกิจเป็นเส้นแบ่งเขต ทิศตะวันออก ติดต่อกับแขวงคลองกุ่ม (เขตบึงกุ่ม) มีถนนนวมินทร์เป็นเส้นแบ่งเขต ทิศใต้ ติดต่อกับแขวงคลองกุ่ม (เขตบึงกุ่ม) และแขวงคลองจั่น (เขตบางกะปิ) มีถนนนวมินทร์และคลองลำพังพวยเป็นเส้นแบ่งเขต ทิศตะวันตก ติดต่อกับแขวงคลองจั่น (เขตบางกะปิ) และแขวงลาดพร้าว (เขตลาดพร้าว) มีคลองตาหนัง คลองลำเจียก คลองอ้ายหลาว คลองเกรียง และถนนประดิษฐ์มนูธรรมเป็นเส้นแบ่งเขต นวลจันทร์ เป็นแขวงหนึ่งในเขตบึงกุ่ม กรุงเทพมหานคร แขวงนวลจันทร์ตั้งอยู่ทางทิศเหนือของเขตบึงกุ่ม มีอาณาเขตติดต่อกับแขวงข้างเคียงเรียงตามเข็มนาฬิกาดังนี้ ทิศเหนือ ติดต่อกับแขวงท่าแร้ง (เขตบางเขน) และแขวงรามอินทรา (เขตคันนายาว) มีคลองตาเร่งและถนนรามอินทราเป็นเส้นแบ่งเขต ทิศตะวันออก ติดต่อกับแขวงรามอินทรา (เขตคันนายาว) มีคลองบางชวดด้วน คลองหลวงวิจิตร คลองลำชะล่า และคลองหนองแขมเป็นเส้นแบ่งเขต ทิศใต้ ติดต่อกับแขวงคลองกุ่มและแขวงนวมินทร์ (เขตบึงกุ่ม) มีทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 350 ถนนนวมินทร์ และถนนประเสริฐมนูกิจเป็นเส้นแบ่งเขต ทิศตะวันตก ติดต่อกับแขวงลาดพร้าว (เขตลาดพร้าว) มีถนนประดิษฐ์มนูธรรมเป็นเส้นแบ่งเขต โรงเรียนนวมินทราชูทิศ กรุงเทพมหานคร เป็นโรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดใหญ่ ประเภทสหศึกษา ตั้งอยู่เลขที่ 115 หมู่ 11 ซอยนวมินทร์ 163 (อมรวิวัฒน์) ถนนนวมินทร์ แขวงนวลจันทร์ เขตบึงกุ่ม กรุงเทพมหานคร เป็นโรงเรียนสหศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา กรุงเทพมหานคร เขต 2 สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ ก่อตั้งวันที่ 8 มีนาคม พ.ศ. 2528 โดยกระทรวงศึกษาธิการ มี นายกนก จันทร์ขจร เป็นผู้อำนวยการท่านแรก โรงเรียนนวมินทราชูทิศ กรุงเทพมหานคร ได้จัดตั้งขึ้นเพื่อเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร เนื่องในวโรกาสที่ทรงเจริญ พระชนมพรรษา โดยมีนายประสงค์ อ้นสุวรรณ ผู้สนใจในการศึกษาได้ติดต่อและประสานงาน เรื่องการบริจาคที่ดินจากคหบดีและคหปตานี  ประกาศตั้งโรงเรียนเมื่อวันที่ 8 มีนาคม พ.ศ. 2528 ใช้ชื่อว่าโรงเรียนนวมราชูทิศ กรุงเทพมหานคร โดยอาศัยอาคารเรียนของโรงเรียนแย้มจาดวิชชานุสรณ์และมีอาจารย์จากโรงเรียนมักกะสันพิทยา จำนวน 6 ท่านดำเนินการจัดการเรียนการสอน ต่อมากระทรวงศึกษาธิการเห็นสมควรเปลี่ยนชื่อโรงเรียน เพื่อความสมบูรณ์และความไพเราะในเชิงอักษรศาสตร์ จึงได้ประกาศ ให้เปลี่ยนชื่อโรงเรียนเป็น โรงเรียนนวมินทราชูทิศ กรุงเทพมหานคร เมื่อวันที่ 14 สิงหาคม พ.ศ. 2528 วันที่ 23 สิงหาคม พ.ศ. 2528 โรงเรียนได้ประกอบพิธีวางศิลาฤกษ์อาคารเรียนทรงไทย 3 ชั้น หลังแรก โดย ฯพณฯ นายกรัฐมนตรี พลเอกเกรียงศักดิ์ ชมะนันท์ เป็นประธานในพิธี อาคารหลังนี้ไดรับความอนุเคราะห์จากพระราชปัญญาโกศล เป็นประธาน อุปถัมภ์มูลนิธินวมราชานุสรณ์ และองค์อุปถัมภ์ โรงเรียนนวมินทราชูทิศ กรุงเทพมหานคร (ในขณะนั้น) เป็นจำนวนเงิน 12 ล้านบาท โรงเรียนจึงได้ ตั้งชื่ออาคารหลังนี้ว่า อาคารพระราชปัญญาโกศล ต่อมาในปีการศึกษา 2529 จึงได้ย้ายมาเรียนในอาคารชั่วคราวที่ชุมชนได้ร่วมใจกันสร้าง เป็นสถานที่เรียนบนที่ดินของโรงเรียน โดยสามารถ ใช้ประโยชน์จากอาคารพระราชปัญญาโกศลบางส่วนเป็นห้องเรียน และสำนักงาน โรงเรียนนวมินทราชูทิศ กรุงเทพมหานครและโรงเรียนอีก 4 โรงเรียนในกลุ่มโรงเรียนเฉลิมพระเกียรตินวมินทราชูทิศ ๕ ภูมิภาค ได้รับพระราชทานพระบรมราชานุญาต ให้อัญเชิญพระมหาพิชัยมงกุฎครอบอุณาโลม รองรับด้วยโมลี ๒ ชั้น มีชื่อแต่ละโรงเรียนอยู่ภายใน เป็นตราสัญลักษณ์ประจำโรงเรียน และเข็มตราสัญลักษณ์ประดับอกเสื้อนักเรียน  ปัจจุบัน มีอาคารเรียนแบบพิเศษ 4 ชั้น รูปตัว E จำนวน 67 ห้องเรียน และอาคารพระราชปัญญาโกศล จำนวน 12 ห้อง อาคารหอประชุมแบบพิเศษ 2 ชั้น 1 หลัง อาคารพยาบาล 1 หลัง อาคารประชาสัมพันธ์ 1 หลัง และอาคารโรงฝึกงาน 2 ชั้น 1 หลัง โรงเรียนบดินทรเดชา (สิงห์ สิงหเสนี) ๒ เป็นโรงเรียนในเครือบดินทรเดชาแห่งที่ 2 สืบเนื่องจากโรงเรียนบดินทรเดชา (สิงห์ สิงหเสนี) ได้รับความนิยม และมีนักเรียนเข้าสมัครเรียนเป็นจำนวนมากขึ้นทุกปี นางประจวบ ชำนิประศาสน์ ผู้อำนวยการโรงเรียนบดินทรเดชา (สิงห์ สิงหเสนี) ในขณะนั้นจึงมีแนวคิดสร้างโรงเรียนในนามบดินทรเดชา แห่งที่ 2 โรงเรียนบดินทรเดชา (สิงห์ สิงหเสนี) ๒ เป็นโรงเรียนประเภทสหศึกษา โดยได้ใช้ที่ดินกรรมสิทธิ์ของวัดบางเตย ที่อุบาสิกาแม้น อ่ำทรงงามบริจาค และได้รับการสถาปนาชื่อโรงเรียนตามราชทินนามของ เจ้าพระยาบดินทรเดชา (สิงห์ สิงหเสนี) และมี นางประจวบ ชำนิประศาสน์ เป็นผู้ดูแลระยะเริ่มแรก โดยมี 5 คณะสี ได้แก่ 1.สีเหลือง คณะเสมอใจราช 2.สีชมพู คณะพรหมสุรินทร์ 3.สีเขียว คณะราชโยธา 4.สีแสด คณะเกษตรรักษา 5.สีฟ้า คณะราชสุภาวดี โรงเรียนบดินทรเดชา (สิงห์ สิงหเสนี) ๒ ตั้งอยู่เลขที่ 333 ถนนนวมินทร์ แขวงคลองกุ่ม เขตบึงกุ่ม กรุงเทพมหานคร เป็นโรงเรียนมัธยมศึกษาประเภทสหศึกษา สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 2 สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ ตั้งอยู่บนที่ดินจำนวน 22 ไร่ 3 งาน 12 ตารางวา ซึ่งเป็นกรรมสิทธิ์ของวัดบางเตย ที่ดินแปลงนี้อุบาสิกาแม้น อ่ำทรงงาม ได้บริจาคให้วัดบางเตย ตั้งแต่ พ.ศ. 2504 ได้รับการสถาปนาชื่อโรงเรียนตามราชทินนามของเจ้าพระยาบดินทรเดชา (สิงห์ สิงหเสนี) ปีพุทธศักราช 2532 ผู้อำนวยการโรงเรียนบดินทรเดชา (สิงห์ สิงหเสนี) นางประจวบ ชำนิประศาสน์ พร้อมคณะกรรมการได้ดำเนินการติดต่อขอเช่าที่ดินจำนวน 22 ไร่ 3 งาน 12 ตารางวา ของวัดบางเตย  กระทรวงศึกษาธิการได้ประกาศตั้งโรงเรียนบดินทรเดชา (สิงห์ สิงหเสนี) ๒ และแต่งตั้ง นางประจวบ ชำนิประศาสน์ ผู้อำนวยการโรงเรียนบดินทรเดชา (สิงห์ สิงหเสนี) ดำรงตำแหน่งผู้บริหารโรงเรียนบดินทรเดชา (สิงห์ สิงหเสนี) ๒ อีกโรงเรียนหนึ่งและเมื่อครบเกษียณอายุราชการ เมื่อวันที่ 30 กันยายน พ.ศ. 2533 กรมสามัญศึกษาได้แต่งตั้งให้ผู้ช่วยผู้อำนวยการโรงเรียนบดินทรเดชา (สิงห์ สิงหเสนี) นายสิทธิรักษ์ จันทร์สว่าง รักษาการในตำแหน่งครูใหญ่โรงเรียนบดินทรเดชา (สิงห์ สิงหเสนี) ๒ สัญลักษณ์ประจำโรงเรียน พระเกี้ยว ตราเครื่องหมายพระเกี้ยว ซึ่งถือเป็นศิราภรณ์ประดับพระเกศา หรือเศียรของพระราชโอรส และพระราชธิดา ของพระมหากษัตริย์ ซึ่งได้รับพระบรมราชานุญาตจากพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร ให้หรือใช้ตราพระเกี้ยวเป็นตราประจำโรงเรียน เมื่อวันที่ 4 พฤศจิกายน พ.ศ. 2535 ดอกลำดวน เป็นดอกไม้ประจำโรงเรียน ซึ่งเป็นดอกไม้ที่มีสีเหลืองนวล และมีกลิ่นหอมเปรียบเสมือนคุณงามความดี ของลูกบดินทรสอง และความยิ่งใหญ่ของโรงเรียน ที่ส่งกลิ่นหอมขจรขจายไปทั่วทุกหนทุกแห่ง พระพุทธบดินทร (หอพระพัชรังกูร) หอพระพัชรังกูร เป็นหอพระประจำโรงเรียนบดินทรเดชา (สิงห์ สิงหเสนี) ๒ ตั้งตระหง่านเป็นสง่าอยู่ที่ประตูหน้า ของโรงเรียน 
image
 Guaranteed Results.
รับรองผลทุกคอร์ส
นักเรียนที่เรียนจบหลักสูตรจากบ้านครูตี๋  กว่า  90%  มีผลการเรียนดีขึ้น
และสามารถสอบเข้าโรงเรียนรัฐบาล  และมหาวิทยาลัยชั้นนำของรัฐได้
จากศิษย์เก่าบ้านครูตี๋กว่า 3,000 คน   ตลอดระยะเวลา 25 ปี 

image
Powered by MakeWebEasy.com
เว็บไซต์นี้มีการใช้งานคุกกี้ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพและประสบการณ์ที่ดีในการใช้งานเว็บไซต์ของท่าน ท่านสามารถอ่านรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว  และ  นโยบายคุกกี้