เรียนพิเศษเขตสะพานสูง
 
คณิตศาสตร์      ฟิสิกส์       ภาษาอังกฤษ
แคลคูลัส
ความถนัดทางวิศวกรรมศาสตร์
O-Net    A-level    TGAT    TPAT    TPAT3    TCAS67
 

เปิดสอน   ระดับชั้นประถมศึกษา    มัธยมต้น    มัธยมปลาย
และระดับมหาวิทยาลัย

เพื่อการสอบเพิ่มเกรดประจำภาคเรียน
สอบเข้า ม.1     สอบเข้า ม.4
สอบ Admission     และสอบตรงเข้ามหาวิทยาลัย

"เน้นเรียนตัวต่อตัว    และกลุ่มย่อย 4 คน"

สำหรับนักเรียนที่มุ่งมั่นเข้าศึกษาต่อคณะวิศวกรรมศาสตร์ และคณะวิทยาศาสตร์
มหาวิทยาลัย TOP 10 ของประเทศ
 
สอนพิเศษตัวต่อตัว เรียนพิเศษตัวต่อตัว เรียนพิเศษกลุ่มย่อย สอนพิเศษกลุ่มย่อย วิชาคณิตศาสตร์ ฟิสิกส์ วิทยาศาสตร์ ภาษาอังกฤษ ความถนัดทางวิศวกรรม รับรองผล เรียนเพิ่มเกรด ติวเพิ่มเกรด  o-net  ติวสอบเข้า ม.1 ติวสอบเข้า ม.4  onsite เรียนออนไซต์  กวดวิชา ติว ครูคณิต กวดวิชา ติว ครูเลข ครูวิทย์ onsite ครูฟิสิกส์ ครูอังกฤษ กวดวิชา ติว  tutor วิทย์ ติวเตอร์ อาจารย์คณิต อาจารย์เลข อาจารย์วิทย์ อาจารย์ฟิสิกส์ อาจารย์อังกฤษ onsite เรียนออนไซต์ เรียนพิเศษใกล้ฉัน  เรียนพิเศษเลขกับติวเตอร์คนไหนดี? เรียนพิเศษคณิตศาสตร์กับติวเตอร์คนไหนดี? เรียนพิเศษฟิสิกส์กับติวเตอร์คนไหนดี? เรียนพิเศษวิทย์กับติวเตอร์คนไหนดี? วิทย์ เรียนพิเศษใกล้ฉัน เรียนพิเศษภาษาอังกฤษกับติวเตอร์คนไหนดี?  เรียนพิเศษที่ไหนดี? เรียนพิเศษคณิตศาสตร์ที่ไหนดี? เรียนพิเศษเลขที่ไหนดี? เรียนพิเศษวิทยาศาสตร์ที่ไหนดี? เรียนพิเศษฟิสิกส์ที่ไหนดี? เรียนพิเศษภาษาอังกฤษที่ไหนดี?  เรียนพิเศษวิทยาศาสตร์กับติวเตอร์คนไหนดี?  ติวเตอร์ tutor โรงเรียนกวดวิชา Quota โควตา TGAT TPAT Admission วิชาสามัญ GPAX GPA TPAT3 A-level คณิตศาสตร์ประยุกต์1 A-level คณิตศาสตร์ประยุกต์2  A-level วิทยาศาสตร์ประยุกต์ ติวเตอร์  A-level ฟิสิกส์ A-level ภาษาอังกฤษ  TGAT TPAT A-level Mathematics Physics Engineering Science TCAS dek66 dek67 dek68 TCAS66 TCAS67 TCAS68 pat1 pat2 pat3 gat ครูสอนพิเศษ อาจารย์สอนพิเศษ  ติวเตอร์ tutor  โรงเรียนกวดวิชา Quota โควตา TGAT TPAT Admission วิชาสามัญ GPAX GPA TPAT3 A-level คณิตศาสตร์ประยุกต์1 A-level คณิตศาสตร์ประยุกต์2  A-level วิทยาศาสตร์ประยุกต์
อยู่เขตสะพานสูงเรียนพิเศษกับติวเตอร์คนไหนดี เรียนพิเศษคณิตศาสตร์เขตสะพานสูง เรียนพิเศษฟิสิกส์เขตสะพานสูง เรียนพิเศษภาษาอังกฤษเขตสะพานสูง หาติวเตอร์สอนคณิตศาสตร์เขตสะพานสูง หาติวเตอร์สอนฟิสิกส์เขตสะพานสูง หาติวเตอร์สอนภาษาอังกฤษเขตสะพานสูง ครูสอนคณิตศาสตร์เขตสะพานสูง ครูสอนฟิสิกส์เขตสะพานสูง สอนพิเศษตัวต่อตัวเขตสะพานสูง เรียนพิเศษตัวต่อตัวเขตสะพานสูง  ติวสอบเข้ามหาวิทยาลัยเขตสะพานสูง เรียนวิทยาศาสตร์กับครูสอนวิทยาศาสตร์เขตสะพานสูง ครูเลขเขตสะพานสูง ครูวิทย์เขตสะพานสูง ติววิทยาศาสตร์เขตสะพานสูง ติววิทย์เขตสะพานสูง ติวคณิตเขตสะพานสูง ติวเลขเขตสะพานสูงหาติวเตอร์สอนพิเศษเขตสะพานสูง  อยู่เขตสะพานสูง โรงเรียนกวดวิชาเขตสะพานสูง     โรงเรียนกวดวิชาเขตสะพานสูง สอนพิเศษคณิตศาสตร์เขตสะพานสูง สอนพิเศษวิทยาศาสตร์เขตสะพานสูง สอนพิเศษภาษาอังกฤษเขตสะพานสูง สอนพิเศษฟิสิกส์เขตสะพานสูง เรียนพิเศษคณิตศาสตร์สะพานสูง เรียนพิเศษวิทยาศาสตร์เขตสะพานสูง เรียนพิเศษภาษาอังกฤษเขตสะพานสูง เรียนพิเศษฟิสิกส์เขตสะพานสูง
สะพานสูง เป็นหนึ่งในห้าสิบเขตของกรุงเทพมหานคร สภาพพื้นที่โดยทั่วไปเป็นแหล่งที่อยู่อาศัยหนาแน่นน้อย ที่ตั้งและอาณาเขต เขตสะพานสูงตั้งอยู่ทางทิศตะวันออกของแม่น้ำเจ้าพระยา (ฝั่งพระนคร) มีอาณาเขตติดต่อกับเขตต่าง ๆ เรียงตามเข็มนาฬิกาดังนี้ ทิศเหนือ ติดต่อกับเขตบึงกุ่มและเขตคันนายาว มีคลองแสนแสบเป็นเส้นแบ่งเขต ทิศตะวันออก ติดต่อกับเขตมีนบุรีและเขตลาดกระบัง มีคลองลาดบัวขาว คลองลำอ้อตัน (ลำบึงขวาง) และคลองแม่จันทร์เป็นเส้นแบ่งเขต ทิศใต้ ติดต่อกับเขตประเวศและเขตสวนหลวง มีทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 3701 (ถนนคู่ขนานมอเตอร์เวย์ด้านซ้าย) และคลองบึงบ้านม้าเป็นเส้นแบ่งเขต ทิศตะวันตก ติดต่อกับเขตบางกะปิ มีคลองบึงบ้านม้า คลองโคลัด คลองวังใหญ่บน และคลองบ้านม้า 2 เป็นเส้นแบ่งเขต เขตสะพานสูงเป็นท้องที่ที่มีลำคลองไหลผ่านหลายสาย คลองที่มีความสำคัญ ได้แก่ คลองแสนแสบ คลองบ้านม้า 1 คลองทับช้างล่าง คลองลาดบัวขาว คลองสะพานสูง คลองหลอแหล เป็นต้น ตั้งแต่อดีตมีการสร้างสะพานข้ามคลองขึ้นเพื่อให้ผู้คนทั้งสองฝั่งคลองเหล่านั้นสามารถติดต่อไปมาหาสู่กันได้ แต่เนื่องจากการเดินทางทางน้ำมีความสำคัญมาก จึงจำเป็นต้องสร้างสะพานทรงสูงเข้าไว้เพื่อให้เรือทุกขนาดสามารถลอดผ่านไปได้สะดวก สะพานลักษณะดังกล่าวมีอยู่ทั่วไปในพื้นที่ จึงสันนิษฐานได้ว่าเป็นที่มาของชื่อ "สะพานสูง" ตำบลสะพานสูง ได้รับการจัดตั้งขึ้นเป็นท้องที่การปกครองท้องที่หนึ่งของอำเภอบางกะปิ จังหวัดพระนคร โดยกระทรวงมหาดไทยได้ขยายเขตสุขาภิบาลบางกะปิให้ครอบคลุมถึงตำบลนี้ด้วยใน พ.ศ. 2506 จนกระทั่งใน พ.ศ. 2514 จังหวัดพระนครถูกรวมเข้ากับจังหวัดธนบุรี เปลี่ยนฐานะเป็นนครหลวงกรุงเทพธนบุรี และใน พ.ศ. 2515 จึงเปลี่ยนแปลงฐานะเป็นกรุงเทพมหานคร ซึ่งเปลี่ยนคำเรียกเขตการปกครองใหม่ด้วย ตำบลสะพานสูงได้รับการเปลี่ยนแปลงฐานะเป็น แขวงสะพานสูง อยู่ในการปกครองของเขตบางกะปิ ด้วยเหตุที่เขตบางกะปิมีเนื้อที่กว้างขวางมากและมีจำนวนประชากรเพิ่มขึ้น ขณะที่ท้องที่บางแห่งอยู่ไกลจากสำนักงานเขต ใน พ.ศ. 2532 กระทรวงมหาดไทยจึงประกาศเปลี่ยนแปลงพื้นที่การปกครองใหม่เพื่อความสะดวกในการบริหารราชการ โดยจัดตั้งเขตบึงกุ่ม ประกอบด้วยแขวงคลองกุ่ม แขวงคันนายาว และแขวงสะพานสูงแยกจากเขตบางกะปิ โดยให้มีผลตั้งแต่วันที่ 4 กันยายน เป็นต้นไป อย่างไรก็ตาม หลังจากแบ่งเขตใหม่แล้ว เขตบึงกุ่มยังคงมีท้องที่กว้างขวางและมีประชากรหนาแน่น ประกอบกับความเจริญทางด้านสาธารณูปโภคได้หลั่งไหลเข้าสู่พื้นที่เพิ่มขึ้นเรื่อย ๆ ในที่สุดเมื่อวันที่ 14 ตุลาคม พ.ศ. 2540 กระทรวงมหาดไทยจึงมีประกาศเปลี่ยนแปลงพื้นที่เขตการปกครองใหม่อีกครั้งหนึ่ง โดยรวมพื้นที่แขวงสะพานสูงและหมู่ที่ 7–12 ของแขวงประเวศ เขตประเวศ จัดตั้งเป็น เขตสะพานสูง และในวันที่ 7 พฤศจิกายน ปีเดียวกัน กรุงเทพมหานครได้ประกาศตั้งแขวงสะพานสูงเต็มพื้นที่เขตสะพานสูงอย่างเป็นทางการ เพื่อความชัดเจนและประโยชน์ในด้านการปกครอง การบริหาร และการอำนวยความสะดวกแก่ประชาชน ประกาศทั้ง 2 ฉบับเริ่มมีผลบังคับใช้ในวันเดียวกันคือวันที่ 21 พฤศจิกายน ปีเดียวกัน ซึ่งเป็นวันเดียวกับที่สำนักงานเขตสะพานสูงได้เปิดให้บริการเป็นครั้งแรกพร้อมกับสำนักงานเขตแยกใหม่ทางฝั่งพระนครอีก 5 แห่ง ได้แก่ เขตสายไหม เขตคันนายาว เขตหลักสี่ เขตวังทองหลาง และเขตคลองสามวา ตราสัญลักษณ์ประจำเขต ตราสัญลักษณ์ประจำเขตสะพานสูง มีลักษณะเป็นตรารูปวงกลม มีองค์ประกอบสำคัญต่างๆ  พระอินทร์ทรงช้างเอราวัณบนก้อนเมฆแบบด้านตรง เป็นสัญลักษณ์ของกรุงเทพมหานครซึ่งได้จำลองจากภาพฝีพระหัตถ์ของพลเอกสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอเจ้าฟ้ากรมพระยานริศรานุวัตติวงศ์ซึ่งได้ทรงเขียนทูลเกล้าฯ ถวายพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ ๖ เนื่องในวโรกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา ๖๐ พรรษาของพระองค์ โดยพลเอกสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เจ้าฟ้ากรมพระยานริศรานุวัตติวงศ์ ได้ให้ความหมายแก่ภาพฝีพระหัตถ์นี้ว่า หมายถึง การบำบัดทุกข์ บำรุงสุขแก่ปวงประชาและทายาทของพระองค์ท่านได้ทรงอนุมัติให้กรุงเทพมหานครจำลองภาพไปเป็นเครื่องหมาย เพื่อให้สมเกียรติกับความหมายที่พระองค์ท่านได้ประทานไว้แต่ก่อน และกรุงเทพมหานครได้ใช้ภาพนี้เป็นเครื่องหมายต้นแบบตราเครื่องหมายของกรุงเทพมหานคร สะพาน เป็นเอกลักษณ์ของเขตสะพานสูง ซึ่งมีลำคลองมากมายการสัญจรใช้ทางน้ำเป็นหลัก จึงจำเป็นต้องสร้างสะพานทรงสูงเข้าไว้ เพื่อให้เรือน้อยใหญ่ลอดผ่านใต้สะพานได้สะดวก รวมถึงประชาชนสามารถใช้สะพานเดินข้ามคลองไปมาหาสู่กันได้ทั้งสองฝั่งคลองอีกทางหนึ่ง น้ำ หมายถึง เขตสะพานสูงเป็นเขตที่มีคลองมากมาย และประชาชนมีความผูกพันกับคลอง
ดอกไม้ หมายถึง ความเป็นธรรมชาติ และความร่มรื่น สีเขียว หมายถึง สิ่งแวดล้อมที่ดี ปราศจากมลพิษ สีส้ม หมายถึงเป็นสีประจำสำนักงานเขตสะพานสูง การคมนาคม ในพื้นที่เขตสะพานสูงมีทางสายหลัก ได้แก่ ถนนกาญจนาภิเษก ถนนรามคำแหง (สุขาภิบาล 3) รถไฟฟ้าสายสีส้ม (กำลังก่อสร้าง) ส่วนทางสายรองและทางลัด ได้แก่ ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 3901 (คู่ขนานกาญจนาภิเษกด้านนอก) ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 3902 (คู่ขนานกาญจนาภิเษกด้านใน) ถนนราษฎร์พัฒนา ถนนเคหะร่มเกล้า ถนนกรุงเทพกรีฑา ถนนนักกีฬาแหลมทอง ถนนศรีนครินทร์-ร่มเกล้า (ช่วงถนนกาญจนาภิเษกถึงคลองแม่จันทร์) ซอย 01 กาญจนาภิเษก 25 (พยุงทอง) ซอยรามคำแหง 118 (พฤกษชาติ) และซอยรามคำแหง 118 แยก 33 ซอยราษฎร์พัฒนา 35 ซอยกรุงเทพกรีฑา 20 (กรุงเทพกรีฑา ซี 4) ซอยกรุงเทพกรีฑา 37 (กรุงเทพกรีฑา บี 5) ซอยนักกีฬาแหลมทอง 38 (ซอย 18) และซอยนักกีฬาแหลมทอง 40 (ซอย 19 ก) สถานที่สำคัญ วัดลาดบัวขาว มัสยิดอัลยุซรอ (หลอแหล) มัสยิดนูรุ้ลเอี๊ยะห์ซาน (ทับช้างบน) หอศิลป์ช่วง มูลพินิจ โรงเรียนสุเหร่าทับช้างคลองบน สะพานสูง เป็นแขวงหนึ่งของเขตสะพานสูง กรุงเทพมหานคร ที่ตั้งและอาณาเขต แขวงสะพานสูงตั้งอยู่ทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือของเขตสะพานสูง มีอาณาเขตติดต่อกับแขวงข้างเคียงเรียงตามเข็มนาฬิกาดังนี้ ทิศเหนือ ติตต่อกับแขวงคลองกุ่ม (เขตบึงกุ่ม) และแขวงรามอินทรา (เขตคันนายาว) มีคลองแสนแสบเป็นเส้นแบ่งเขต ทิศตะวันออก ติดต่อกับแขวงราษฎร์พัฒนา (เขตสะพานสูง) มีถนนกาญจนาภิเษกฟากตะวันออกเป็นเส้นแบ่งเขต ทิศใต้ ติดต่อกับแขวงทับช้าง (เขตสะพานสูง) มีคลองทับช้างล่างและคลองวังใหญ่บนเป็นเส้นแบ่งเขต ทิศตะวันตก ติดต่อกับแขวงหัวหมาก (เขตบางกะปิ) มีคลองบ้านม้า 2 เป็นเส้นแบ่งเขต การคมนาคม ถนนสายหลักในพื้นที่แขวงสะพานสูง ได้แก่ ถนนกาญจนาภิเษก ถนนรามคำแหง ถนนสายรองและทางลัดในพื้นที่แขวงสะพานสูง ได้แก่ ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 3901 (คู่ขนานกาญจนาภิเษกด้านนอก) ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 3902 (คู่ขนานกาญจนาภิเษกด้านใน) ซอยรามคำแหง 118 (พฤกษชาติ) และซอยรามคำแหง 118 แยก 33 ราษฎร์พัฒนา เป็นแขวงแขวงหนึ่งในเขตสะพานสูง กรุงเทพมหานคร เป็น 1 ใน 13 แขวงที่ตั้งขึ้นใหม่ล่าสุดตามประกาศการเปลี่ยนแปลงพื้นที่แขวงของกรุงเทพมหานครเมื่อวันที่ 26 กรกฎาคม พ.ศ. 2560[3] สภาพพื้นที่โดยทั่วไปเป็นเขตที่อยู่อาศัยหนาแน่นน้อย บางแห่งเป็นพื้นที่เกษตรกรรม ประวัติ แขวงราษฎร์พัฒนาเดิมเป็นส่วนหนึ่งของแขวงสะพานสูง เขตบางกะปิ ต่อมาในวันที่ 4 กันยายน พ.ศ. 2532 กระทรวงมหาดไทยได้จัดตั้งเขตบึงกุ่มแยกจากเขตบางกะปิ โดยกำหนดให้แขวงสะพานสูงอยู่ในท้องที่การปกครองของเขตนี้ด้วย จากนั้นเมื่อวันที่ 21 พฤศจิกายน พ.ศ. 2540 กระทรวงมหาดไทยได้เปลี่ยนแปลงเขตการปกครองในบริเวณนี้อีกครั้ง โดยโอนแขวงสะพานสูงมาขึ้นกับเขตสะพานสูงที่จัดตั้งขึ้นใหม่ จนกระทั่งในวันที่ 26 กรกฎาคม พ.ศ. 2560 กรุงเทพมหานครได้แยกท้องที่ทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือของแขวงสะพานสูงออกมาจัดตั้งเป็น แขวงราษฎร์พัฒนา โดยนำชื่อถนนราษฎร์พัฒนาที่ตัดผ่านพื้นที่มาใช้เป็นชื่อแขวง ที่ตั้งและอาณาเขต แขวงราษฎร์พัฒนาตั้งอยู่ทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือของเขตสะพานสูง มีอาณาเขตติดต่อกับเขตการปกครองข้างเคียงดังนี้ ทิศเหนือ ติตต่อกับแขวงคันนายาว (เขตคันนายาว) และแขวงมีนบุรี (เขตมีนบุรี) มีคลองแสนแสบเป็นเส้นแบ่งเขต ทิศตะวันออก ติดต่อกับแขวงมีนบุรี (เขตมีนบุรี) และแขวงคลองสองต้นนุ่น (เขตลาดกระบัง) มีคลองลาดบัวขาวเป็นเส้นแบ่งเขต ทิศใต้ ติดต่อกับแขวงทับช้าง (เขตสะพานสูง) มีคลองทับช้างล่างเป็นเส้นแบ่งเขต ทิศตะวันตก ติดต่อกับแขวงสะพานสูง (เขตสะพานสูง) มีถนนกาญจนาภิเษกฟากตะวันออกเป็นเส้นแบ่งเขต การคมนาคม ถนนสายหลักในพื้นที่แขวงราษฎร์พัฒนา ได้แก่ ถนนรามคำแหง ถนนสายรองและทางลัดในพื้นที่แขวงราษฎร์พัฒนา ได้แก่ ถนนราษฎร์พัฒนา ถนนเคหะร่มเกล้า ซอยราษฎร์พัฒนา 35 ทับช้าง เป็นแขวงแขวงหนึ่งในเขตสะพานสูง กรุงเทพมหานคร เป็น 1 ใน 13 แขวงที่ตั้งขึ้นใหม่ล่าสุดตามประกาศการเปลี่ยนแปลงพื้นที่แขวงของกรุงเทพมหานครเมื่อวันที่ 26 กรกฎาคม พ.ศ. 2560 สภาพพื้นที่โดยทั่วไปเป็นเขตที่อยู่อาศัยหนาแน่นน้อยผสมผสานพื้นที่เกษตรกรรม ประวัติ แขวงทับช้างในอดีตเป็นท้องที่ตอนเหนือของแขวงประเวศ เขตพระโขนง ต่อมาในวันที่ 9 พฤศจิกายน พ.ศ. 2532 กระทรวงมหาดไทยได้จัดตั้งเขตประเวศแยกจากเขตพระโขนง โดยโอนแขวงประเวศมาขึ้นกับเขตนี้ด้วย จากนั้นเมื่อวันที่ 21 พฤศจิกายน พ.ศ. 2540 กระทรวงมหาดไทยได้เปลี่ยนแปลงเขตการปกครองในบริเวณนี้อีกครั้ง โดยตัดท้องที่แขวงประเวศส่วนที่อยู่ทางทิศเหนือของถนนมอเตอร์เวย์มาขึ้นกับเขตสะพานสูงที่จัดตั้งขึ้นใหม่ และกรุงเทพมหานครได้ผนวกแขวงประเวศส่วนนี้เข้าเป็นส่วนหนึ่งของแขวงสะพานสูงไปพร้อมกันเพื่อความชัดเจนด้านการปกครอง จนกระทั่งในวันที่ 26 กรกฎาคม พ.ศ. 2560 กรุงเทพมหานครได้แยกท้องที่ตอนใต้ของแขวงสะพานสูง (ซึ่งเดิมเป็นแขวงประเวศ) ออกมาจัดตั้งเป็น แขวงทับช้าง ที่ตั้งและอาณาเขต แขวงทับช้างตั้งอยู่ทางตอนใต้ของเขตสะพานสูง มีอาณาเขตติดต่อกับเขตการปกครองข้างเคียงดังนี้ ทิศเหนือ ติตต่อกับแขวงสะพานสูง แขวงราษฎร์พัฒนา (เขตสะพานสูง) และแขวงคลองสองต้นนุ่น (เขตลาดกระบัง) มีคลองวังใหญ่บน คลองทับช้างล่าง คลองลาดบัวขาว และคลองลำอ้อตัน (ลำบึงขวาง) เป็นเส้นแบ่งเขต ทิศตะวันออก ติดต่อกับแขวงคลองสองต้นนุ่น (เขตลาดกระบัง) มีคลองแม่จันทร์เป็นเส้นแบ่งเขต ทิศใต้ ติดต่อกับแขวงประเวศ (เขตประเวศ) และแขวงพัฒนาการ (เขตสวนหลวง) มีทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 3701 (ถนนคู่ขนานมอเตอร์เวย์ด้านซ้าย) และคลองบึงบ้านม้าเป็นเส้นแบ่งเขต ทิศตะวันตก ติดต่อกับแขวงหัวหมาก (เขตบางกะปิ) มีคลองบึงบ้านม้าเป็นเส้นแบ่งเขต การคมนาคม ถนนสายหลักในพื้นที่แขวงทับช้าง ได้แก่ ถนนกาญจนาภิเษก ถนนสายรองและทางลัดในพื้นที่แขวงทับช้าง ได้แก่ ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 3901 (คู่ขนานกาญจนาภิเษกด้านนอก) ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 3902 (คู่ขนานกาญจนาภิเษกด้านใน) ถนนกรุงเทพกรีฑา ถนนนักกีฬาแหลมทอง ถนนศรีนครินทร์-ร่มเกล้า (ช่วงถนนกาญจนาภิเษก-คลองแม่จันทร์) ซอย 01 กาญจนาภิเษก 25 (พยุงทอง) ซอยกรุงเทพกรีฑา 20 (กรุงเทพกรีฑา ซี 4) ซอยกรุงเทพกรีฑา 37 (กรุงเทพกรีฑา บี 5) ซอยนักกีฬาแหลมทอง 38 (ซอย 18) และซอยนักกีฬาแหลมทอง 40 (ซอย 19 ก) โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาน้อมเกล้า โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ เตรียมอุดมศึกษาน้อมเกล้า โรงเรียนเกษตรทฤษฎีใหม่ โรงพยาบาลการุณเวช (เกษมราษฎร์ สุขาภิบาล 3 เดิม) สมาคมพิทักษ์สัตว์ (ไทย) โรงเรียนศรีพฤฒา ถนนศรีนครินทร์-ร่มเกล้า เป็นถนนตัดใหม่ในพื้นที่กรุงเทพมหานครฝั่งตะวันออก ในพื้นที่เขตบางกะปิ, เขตสะพานสูง และเขตลาดกระบัง โดยบางส่วนได้มีการนำแนวถนนกรุงเทพกรีฑาเดิมมาปรับปรุงและตัดถนนในแนวใหม่ขึ้นมา จากถนนหัวหมาก (ซอยรามคำแหง 24) ไปบรรจบถนนเจ้าคุณทหาร ระยะทางประมาณ 11.2 กิโลเมตร ทำให้สามารถเดินทางจากถนนศรีนครินทร์ไปยังถนนร่มเกล้าได้โดยไม่ต้องผ่านทางแยกสัญญาณไฟจราจร (ไม่ติดไฟแดง) แม้แต่แห่งเดียว พื้นที่ที่ถนนตัดผ่าน เขตบางกะปิ, เขตสะพานสูง และเขตลาดกระบัง กรุงเทพมหานคร
image
 Guaranteed Results.
รับรองผลทุกคอร์ส
นักเรียนที่เรียนจบหลักสูตรจากบ้านครูตี๋  กว่า  90%  มีผลการเรียนดีขึ้น
และสามารถสอบเข้าโรงเรียนรัฐบาล  และมหาวิทยาลัยชั้นนำของรัฐได้
จากศิษย์เก่าบ้านครูตี๋กว่า 3,000 คน   ตลอดระยะเวลา 25 ปี 

image
Powered by MakeWebEasy.com
เว็บไซต์นี้มีการใช้งานคุกกี้ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพและประสบการณ์ที่ดีในการใช้งานเว็บไซต์ของท่าน ท่านสามารถอ่านรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว  และ  นโยบายคุกกี้