ติวสอบเข้าโรงเรียนดรุณสิกขาลัย   เรียนพิเศษ
 
คณิตศาสตร์      ฟิสิกส์       ภาษาอังกฤษ
แคลคูลัส
ความถนัดทางวิศวกรรมศาสตร์
O-Net    A-level    TGAT    TPAT    TPAT3    TCAS67
 

เปิดสอน   ระดับชั้นประถมศึกษา    มัธยมต้น    มัธยมปลาย
และระดับมหาวิทยาลัย


เพื่อการสอบเพิ่มเกรดประจำภาคเรียน
สอบเข้า ม.1     สอบเข้า ม.4
สอบ Admission     และสอบตรงเข้ามหาวิทยาลัย


"เน้นเรียนตัวต่อตัว    และกลุ่มย่อย 4 คน"

สำหรับนักเรียนที่มุ่งมั่นเข้าศึกษาต่อโรงเรียนดรุณสิกขาลัย 
 
ประวัติโรงเรียน จากอุดมการณ์การทำงานของคุณพารณ อิศรเสนา ณ อยุธยา ในบริษัท เชลล์แห่งประเทศไทย จำกัด ประสบการณ์ 12 ปี และต่อมาได้ร่วมงานกับบริษัท ปูนซิเมนต์ไทย จำกัด (มหาชน) ในตำแหน่งผู้บริหารระดับกลางจนถึงตำแหน่งกรรมการผู้จัดการใหญ่ ได้กลายเป็นจุดเปลี่ยนผันในเรื่องแนวคิดการบริหารบุคคลสมัยใหม่ พนักงานขององค์กรเป็นทรัพยากรที่มีค่าที่สุดขององค์กร” มิใช่โรงงาน เครื่องจักร เครื่องมือ อาคารสถานที่ หรือคอมพิวเตอร์ที่ทันสมัยที่สุด และมีความเชื่อว่า “เด็กไทยเป็นสมบัติที่มีค่าที่สุดของประเทศไทย” เมื่อเข้าสู่วัยเกษียณอายุจึงอุทิศตนทำงาน เพื่อพัฒนาเด็กไทยให้เป็นคนดีและเก่ง เป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ของประเทศและของโลก เพื่อพัฒนาคนไทยให้สู้ได้ในโลกยุคใหม่ที่มีการเปลี่ยนแปลงเกิดขึ้นอย่างรวดเร็ว รุนแรง และกว้างขวาง ในปี 2539 คณะศิษย์เก่า MIT ได้รวมตัวกันก่อตั้งมูลนิธิ FREE โดยมี ดร.เชาวน์ ณ ศีลวันต์ องคมนตรี ซึ่งสำเร็จการศึกษาระดับปริญญาโทและปริญญาเอกจาก MIT เป็นประธานมูลนิธิ และในปีเดียวกันนั้นพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 9 ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานนามใหม่ให้ว่า “มูลนิธิศึกษาพัฒน์” คุณพารณซึ่งร่วมเป็นกรรมการมูลนิธิ และคุณแบงกอก เชาว์ขวัญยืน ซึ่งสำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรีด้าน Mathematics จาก Cambridge University และระดับปริญญาโทจาก MIT Sloan School of Management เป็นสองคนในคณะผู้ก่อตั้งมูลนิธิ ได้ร่วมกันรับงานเรื่องการพัฒนาการศึกษาแบบใหม่ที่ใช้เทคโนโลยีเป็นสื่อการเรียนการสอน ด้วยความเชื่อที่ว่า MIT มีเทคโนโลยีต่าง ๆ มาจากงานวิจัยที่น่าเชื่อถือ จึงได้ประสานงานติดต่อกับ MIT Media Lab เพื่อนำเอาทฤษฎีการเรียนรู้ชื่อว่า “Constructionism” ซึ่งเป็นผลจากงานวิจัยของ Professor Seymour Papert มาทดลองปรับใช้กับทุกภาคส่วนต่าง ๆ ในสังคมไทย โดยเริ่มต้นที่โรงเรียนก่อน Professor Seymour Papert เป็นสานุศิษย์ของ Professor Jean Piaget ผู้คิดค้นทฤษฎีการเรียนรู้แบบ Constructivism ซึ่งในเวลาต่อมา Professor Papert ได้ย้ายภูมิลำเนามาอยู่ที่ MIT เมือง Boston รัฐ Massachusetts และได้ทำการวิจัยเพื่อพัฒนาวิธีการเรียนรู้ต่อยอดจากอาจารย์ของท่าน และเรียกทฤษฎีของท่านว่า Constructionism ซึ่งเป็นผลจากการศึกษาวิจัยพฤติกรรมการเรียนรู้ของเด็กมาเป็นเวลากว่า 20 ปี จนได้พบว่า ถ้านำผู้เรียนตั้งแต่อายุยังน้อยที่มีความสนใจใกล้เคียงกัน มาชี้ชวนให้เรียนรู้และทำโครงงานร่วมกัน โดยครูเปลี่ยนบทบาทมาเป็น Facilitator คือเป็นผู้เอื้ออำนวยให้เกิดบรรยากาศในห้องเรียนให้เอื้ออำนวยต่อการเรียนรู้ (Conducive to Learning) และบูรณาการด้วยเทคโนโลยี วิชาการ และอื่นๆ เข้าไป จะทำให้ผู้เรียนเรียนรู้วิธีการเรียนรู้ (learning how to learn) และคิดที่จะคิดต่อไปเองได้ (Thinking about Thinking) คือรู้จักเรียนรู้ตลอดชีวิต (Lifelong learning) คุณพารณและคุณแบงกอกได้ปรับใช้และขยายผลทฤษฎีการเรียนรู้แบบ Constructionism ในสังคมไทย ภายใต้โครงการความร่วมมือ Lighthouse Project ของมูลนิธิศึกษาพัฒน์ โดยเริ่มขยายผลไปยังภาคชุมชน ภาคธุรกิจเอกชน และภาคการศึกษา ทั้งโรงเรียนในระบบและการศึกษานอกระบบ โดยเริ่มต้นจากการศึกษานอกระบบก่อน หลังจากความวิริยะอุตสาหะอย่างต่อเนื่องของคุณพารณและคุณแบงกอกที่ได้เดินทางติดตามผลงานในที่ต่าง ๆ ทำให้พบว่า ข้อจำกัดด้านหลักสูตรของกระทรวงศึกษาธิการ และวิธีการบริหารจัดการ ตลอดจนวิธีคิด (Mindset) ของครูและผู้บริหารส่วนใหญ่ในขณะนั้น เป็นอุปสรรคสำคัญที่ทำให้ไม่สามารถนำวิธีการ Constructionism ไปขยายผลในโรงเรียนได้ดีเท่าที่ควร คณะผู้บริหารโครงการ Lighthouse Project ของมูลนิธิศึกษาพัฒน์ จึงมีแนวคิดว่า ควรต้องมีโรงเรียนตัวอย่างของตัวเอง เป็นผู้นำการเปลี่ยนแปลงการศึกษาที่จัดการเรียนการสอนตามทฤษฎี Constructionism อย่างเต็มรูปแบบ เริ่มต้นตั้งแต่ชั้นประถมศึกษาตอนต้นจนถึงชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย โดยบูรณาการด้วยเทคโนโลยี วิชาการ ศิลปวัฒนธรรม ความเป็นไทย ศีลธรรมจรรยา และภาษาอังกฤษ ซึ่งเริ่มต้นด้วยการฟัง พูด อ่าน เขียน และไวยากรณ์ที่เข้มข้นตามลำดับ จนผู้เรียนเข้าใจและมีความสามารถใช้ภาษาอังกฤษได้ดีเท่า ๆ กับภาษาไทย ทั้งนี้ เพื่อให้ผู้เรียนกลุ่มนี้เป็นกลุ่มตัวอย่างที่จะได้รับประสบการณ์ทางการเรียนรู้ตามวิธีการดังกล่าวอย่างเข้มข้นลึกซึ้งต่อเนื่อง และเป็นไปตามธรรมชาติ จนเกิดเป็นวัฒนธรรมในการเรียนรู้ขึ้นใหม่ คือมีความกระหายที่จะเรียนรู้ (Passion of Learning) โดยผู้เรียนไม่รู้สึกต่อต้าน และติดเป็นนิสัยใฝ่เรียนรู้ไปตลอดชีวิต สอดคล้องกับพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ ปี 2542 ทุกประการ ในปี 2543 คุณพารณดำรงตำแหน่งนายกสภามหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี ซึ่งเป็นมหาวิทยาลัยของรัฐแห่งแรกที่ได้รับอนุญาตจากรัฐบาลให้ออกนอกระบบราชการ โดยมี ดร.หริส สูตะบุตร ศิษย์เก่า MIT เป็นอุปนายกสภา และคุณแบงกอกเป็นกรรมการสภา ทุกคนได้ร่วมกันเสนอสภามหาวิทยาลัยให้พิจารณาการจัดตั้งโรงเรียนต้นแบบตามแนวคิดข้างต้น สภามหาวิทยาลัยจึงมีมติเห็นควรให้จัดตั้งโรงเรียนขึ้นภายในมหาวิทยาลัย เมื่อวันที่ 20 กรฎาคม 2543 โดยมีสถานะเทียบเท่าภาควิชาหนึ่งของมหาวิทยาลัยและมีการบริหารจัดการที่เป็นอิสระโดยไม่ใช้งบประมาณของรัฐ ทำให้การบริหารจัดการองค์กรมีความคล่องตัวสูง และเมื่อดำเนินการไปแล้วระยะหนึ่ง จะสามารถพัฒนาให้เกิดนักเรียนและครูพันธุ์ใหม่ซึ่งมีคุณสมบัติเหมาะสมต่อการเรียนรู้ในโลกยุคใหม่ได้ รวมทั้งจะพัฒนาไปเป็นสถาบันการเรียนรู้ (Learning Institute) ที่ทันสมัยต่อไปในอนาคต นับตั้งแต่ปี 2544 เป็นต้นมา ดรุณสิกขาลัย โรงเรียนนวัตกรรมแห่งการเรียนรู้ จึงเริ่มเปิดให้มีการเรียนการสอนเป็นปีการศึกษาแรก ดำเนินการสอนแบบ 2 ภาษา (ไทยและอังกฤษ) โดยเป็นโครงการนำร่องที่ได้รับการสนับสนุนและความร่วมมือระหว่าง MIT Media Lab มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี มูลนิธิศึกษาพัฒน์ และมูลนิธิไทยคม มีวิสัยทัศน์ที่จะมุ่งพัฒนาเด็กไทยให้เป็นพลเมืองโลกและพลเมืองไทยในคนๆ เดียวกันที่รักษาความเป็นไทยไว้ได้และมี passion of learning สูง ด้วยวิธีการจัดการเรียนการสอนตามทฤษฎีการเรียนรู้แบบ Constructionism ซึ่งคิดค้นจากผลงานการวิจัยโดย Professor Seymour Papert แห่ง MIT Media Lab และการบริหารจัดการองค์กรตามหลักการ Learning Organization ซึ่งคิดค้นจากผลงานการวิจัยโดย Peter M. Senge แห่ง MIT Sloan School of Management ปรัชญา วิสัยทัศน์ พันธกิจ ค่านิยมร่วม ปรัชญา บุคคลเจริญได้ด้วยจริยธรรมในการดำเนินชีวิตฉันใด องค์กรก็เจริญได้ด้วยจริยธรรมในการดำเนินการฉันนั้น วิสัยทัศน์ พัฒนาคนไทยให้เป็นพลเมืองโลก พันธกิจ 1) นักเรียนรู้เชิงรุก (Proactive Learner) คือนักเรียนที่มีความใฝ่รู้ กระตือรือร้นในการแสวงหาความรู้ในเรื่องที่ตนเองสนใจ หรือแม้แต่เรื่องอื่น ๆ ที่ไม่ได้สนใจก็ตามได้ด้วยตนเอง ไม่ต้องนั่งรอคำตอบจากครู แต่เป็นฝ่ายเดินไปหาคำตอบด้วยตนเอง ผ่านการลงมือปฏิบัติ ทดลอง ทดสอบ หรือหาข้อมูล และพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่องสม่ำเสมอ โดยยึดหลักปฏิบัติดังนี้ • มีความกระตือรือร้นในการพัฒนาตนเองให้เป็นผู้นำตามความถนัดของตน • สามารถวางแผนการเรียนรู้ของตนเองได้ • สามารถประมวลข้อมูลอย่างมีวิจารณญาณ • สะท้อนบทเรียนและเรียนรู้จากความสำเร็จและสิ่งที่ผิด 2) วินัยภายใน (Self-Discipline) คือ สิ่งที่ต้องปฏิบัติเพื่อให้อยู่ร่วมกันในสังคมอย่างราบรื่นเรียบร้อย และต้องปฏิบัติตนด้วยความเต็มใจของตัวเอง โดยที่ไม่ต้องมีกฎหรือบุคคลมาบังคับ โดยยึดหลักปฏิบัติดังนี้ • รู้และรับผิดชอบในหน้าที่ของตนเอง และเคารพในความคิดที่แตกต่างของผู้อื่น • รู้ดีรู้ชั่ว และเลือกทำในสิ่งที่ดีงาม ทำให้มีธรรมาภิบาลในการทำงานในอนาคต • มีความซื่อสัตย์สุจริต มานะอดทน และพยายามทำสิ่งที่ถูกที่ควรให้สำเร็จจงได้ 3) คุณภาพภายใน (Altruism) คือ คุณภาพของจิตใจ มีความมั่นคงทางอารมณ์ มีศีลธรรมจรรยาและศรัทธาในความดีงาม เมื่อมีความมั่นคงจากภายในก็จะส่งผลให้เห็นคุณภาพภายนอก คือ มีพฤติกรรมอันดีงาม และไม่เบียดเบียนผู้อื่น โดยยึดหลักปฏิบัติดังนี้ • มีสติรู้เท่าทันกับสิ่งที่เกิดขึ้น มีสมาธิดี มีความประณีตภายใน และจัดการอารมณ์ตัวเองได้ • มีความรัก ความเมตตากรุณา เห็นคุณค่าของชีวิตตนเองและผู้อื่นอย่างเท่าเทียมกัน • มีมารยาทที่ดีงาม รู้จักกาลเทศะ และรักษาศิลปวัฒนธรรม ความเป็นไทยไว้ได้ • มีภาวะผู้นำตั้งแต่ยังเยาว์วัย 4) ความรับผิดชอบต่อสังคมและสิ่งแวดล้อม (Social Responsibility) คือ การประพฤติตนให้เป็นพลเมืองดี ไม่สร้างความเดือดร้อนแก่สังคมและสิ่งแวดล้อม
ดรุณสิกขาลัย โรงเรียนนวัตกรรมแห่งการเรียนรู้ (อังกฤษ: Darunsikkhalai School for Innovative Learning) เป็นโรงเรียนระดับประถมศึกษาและมัธยมศึกษาในกำกับของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี จัดตั้งขึ้นในปี พ.ศ. 2543 และเปิดทำการเรียนการสอนในปี พ.ศ. 2544 โดยได้รับการสนับสนุนและความร่วมมือระหว่าง MIT Media Lab มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี มูลนิธิศึกษาพัฒน์ และมูลนิธิไทยคม โดยมีหลักสูตรหลักที่ชื่อว่า "ชั้นเรียนโครงงาน" หรือ Project-based Learning เพื่อฝึกฝนและพัฒนาทักษะ รวมถึงกระบวนการสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเอง โดยเปิดโอกาสให้ผู้เรียนเลือกหัวข้อตามอัธยาศัย สอดคล้องตามวัยและความพร้อมของตัวผู้เรียน ประวัติ  ในปี พ.ศ. 2539 คณะศิษย์เก่าจากสถาบันเทคโนโลยีแมสซาชูเซตส์ได้รวมตัวกันก่อตั้งมูลนิธิ FREE โดยมี ดร.เชาวน์ ณ ศีลวันต์ เป็นประธานมูลนิธิ และในปีเดียวกันได้รับพระราชทานนามใหม่ให้ว่า “มูลนิธิศึกษาพัฒน์” โดยมี นายพารณ อิศรเสนา ณ อยุธยา และ แบงกอก เชาว์ขวัญยืน ร่วมเป็นกรรมการและคณะผู้ก่อตั้งมูลนิธิ ร่วมกันพัฒนาการศึกษาแบบใหม่ที่ใช้เทคโนโลยีเป็นสื่อการเรียนการสอน จึงได้ประสานงานติดต่อกับ MIT Media Lab และนำเอาทฤษฎี “Constructionism” มาปรับใช้ภายใต้โครงการความร่วมมือ Lighthouse Project ของมูลนิธิศึกษาพัฒน์ แต่เนื่องด้วยข้อจำกัดด้านหลักสูตรของกระทรวงศึกษาธิการ และวิธีการบริหารจัดการ ตลอดจนวิธีคิด ในขณะนั้น เป็นอุปสรรคสำคัญที่ทำให้ไม่สามารถนำวิธีการ Constructionism ไปขยายผลในโรงเรียนได้ดีเท่าที่ควร จึงมีแนวคิดว่า ควรต้องมีโรงเรียนตัวอย่างของตัวเอง จนกระทั่งในปี พ.ศ. 2544 นายพารณได้ดำรงตำแหน่งนายกสภามหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี โดยมี ดร.หริส สูตะบุตร เป็นอุปนายกสภา และนายแบงกอกเป็นกรรมการสภา ได้ร่วมกันเสนอสภามหาวิทยาลัยให้พิจารณาการจัดตั้งโรงเรียนต้นแบบตามแนวคิดข้างต้น สภามหาวิทยาลัยจึงมีมติเห็นควรให้จัดตั้งโรงเรียนขึ้นภายในมหาวิทยาลัย โดยมีสถานะเทียบเท่าภาควิชาหนึ่งของมหาวิทยาลัยและมีการบริหารจัดการที่เป็นอิสระโดยไม่ใช้งบประมาณของรัฐ ในปีการศึกษา 2551 กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี และกระทรวงศึกษาธิการ ได้ดำเนินงานโครงการสนับสนุนการจัดตั้งห้องเรียนวิทยาศาสตร์ในโรงเรียน จึงได้เลือกมหาวิทยาลัยที่มีคณะและภาควิชาทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ที่มีความพร้อมมาทั้งสิ้น 4 แห่งเป็นโครงการนำร่อง ซึ่งหนึ่งในนั้นคือมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี - โรงเรียนดรุณสิกขาลัย ต่อมาหลังจากลงนามร่วมมือกับรัฐบาลญี่ปุ่นในเดือนสิงหาคม พ.ศ. 2561 คณะรัฐมนตรีมีมติเห็นชอบให้ตั้งสถาบันไทยโคเซ็น (Thai KOSEN) จำนวน 2 สถาบัน คือ สถาบันโคเซ็นแห่งสถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง และ สถาบันโคเซ็นแห่งมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี สำนักงานห้องเรียนวิศว์-วิทย์ เป็นหน่วยงานที่รับผิดชอบโครงการทางการศึกษา 2 โครงการ ในสังกัดมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี คือ โครงการ วมว. และ สถาบันโคเซ็น (KOSEN) โครงการสนับสนุนการจัดตั้งห้องเรียนวิทยาศาสตร์ในโรงเรียน โดยการกำกับดูแลของมหาวิทยาลัย โครงการสนับสนุนการจัดตั้งห้องเรียนวิทยาศาสตร์ในโรงเรียน โดยการกำกับดูแลของมหาวิทยาลัย (วมว.) เป็นโครงการจัดตั้งห้องเรียนวิทยาศาสตร์ในโรงเรียนสำหรับผู้เรียนที่มีความสามารถพิเศษทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โดยมีมหาวิทยาลัยเป็นผู้กำกับดูแลการดำเนินการ การเรียนการสอนของโครงการ วมว. ดรุณสิกขาลัย ยึดแนวคิดเดียวกันกับโรงเรียนดรุณสิกขาลัยในการให้ผู้เรียนเป็นศูนย์กลางและการเรียนรู้ผ่านการลงมือปฏิบัติหลักสูตรที่ใช้ในการเรียนการสอนในโครงการฯ ตั้งอยู่บนแนวคิดแบบ Story Based Learning หรือร้อยเรียงเรื่องราวเพื่อการเรียนรู้ และประยุกต์ทฤษฎี Constructionism เข้ากับหลักสูตรแกนกลางของสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาพื้นฐานในการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ โดยโครงการนี้มีวัตถุประสงค์คือ เพื่อสร้างนักคิดนักประดิษฐ์ที่มีพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์และวิศวกรรม โดยการเรียนนั้นจะไม่แบ่งรายวิชาตามหลักสูตรของกระทรวงศึกษาธิการ โดยมีรหัสวิชาแยกเป็นของตนเอง นักเรียนทุกคนถือว่าเป็นนักเรียนทุนรัฐบาลและไม่จำเป็นในการเสียค่าบำรุงการศึกษา โดยจะได้รับการสนับสนุนค่าใช้จ่ายส่วนบุคคลจากกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม ปีละ 200,000 บาท รวมถึงไม่ต้องมีการชดใช้ทุนคืนหลังจบการศึกษา และนักเรียนมัธยมศึกษาปีที่ 4 ทุกคนจะได้รับ iPad 1 เครื่องสำหรับการศึกษา โดยคืนเมื่อเรียนจบ KOSEN KMUTT ตามมติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 4 ธันวาคม 2561 อนุมัติ "โครงการพัฒนากำลังคนด้านวิศวกรรมศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรมสนับสนุนการลงทุนและเพิ่มขีดความสามารถภาคอุตสาหกรรมในประเทศและภูมิภาค" จัดตั้ง 2 สถาบันไทยโคเซ็น คือ KOSEN-KMITL และ KOSEN-KMUTT โดย KOSEN-KMUTT เป็นสถาบันไทยโคเซนแห่งที่ 2 ของประเทศไทย โดยมีหลักสูตรการเรียนที่เน้นการพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์ สร้างสรรค์ และทักษะวิศวกรรมศาสตร์ ผ่านแนวคิด Story-based learning โดยหลักสูตรที่นำสอนมิใช่การยกหลักสูตรของประเทศญี่ปุ่นมาทั้งหมด แต่เป็นการนำมาปรับเพื่อให้เข้ากับวิถีชีวิตของนักศึกษาไทยและเพื่อให้นักศึกษาสามารถทำงานและสร้างสรรค์นวัตกรรมใหม่ ๆ ในอุตสาหกรรมของประเทศได้ เริ่มเปิดทำการสอนตั้งแต่ปีการศึกษา 2563 ในหลักสูตรวิศวกรรมอัตโนมัติ (Automation Engineering) ส่วนหลักสูตรวิศวกรรมชีวภาพ (Bio Engineering) เริ่มทำการสอนในปีการศึกษา 2565 และหลักสูตรวิศวกรรมเกษตร (Agri Engineering) จะเปิดต่อมาในปีการศึกษา 2567 โดยมีคณะอาจารย์จากประเทศญี่ปุ่นร่วมทำการสอน ดังนั้นการเรียนในบางรายวิชาจึงเรียนโดยใช้ภาษาอังกฤษเป็นหลัก การเรียนนั้นจะไม่แยกรายวิชาตามหลักกระทรวงศึกษาธิการเช่นเดียวกับโครงการวมว. รวมถึงมีหลักสูตรทางวิศวกรรมที่ได้รับการสนับสนุนจากสถาบันโคเซ็น ประเทศญี่ปุ่น นั่นรวมถึงมีการสอนภาษาญี่ปุ่นให้กับนักศึกษาด้วย ใช้ความรู้ความสามารถช่วยพัฒนาชุมชนรอบตัวและ ขยายไปสู่สังคมในวงกว้างได้ โดยยึดหลักปฏิบัติดังนี้ • มีจิตอาสา ใช้ความสามารถในการช่วยเหลือและพัฒนาสังคมและสิ่งแวดล้อมให้ดียิ่งขึ้น • มีจิตสำนึกรักและตระหนักในคุณค่าของทรัพยากรสิ่งแวดล้อม รู้จักดูแลรักษาสมบัติของตนเองและของส่วนรวม
สอนพิเศษตัวต่อตัว เรียนพิเศษตัวต่อตัว เรียนพิเศษกลุ่มย่อย สอนพิเศษกลุ่มย่อย วิชาคณิตศาสตร์ ฟิสิกส์ วิทยาศาสตร์ ภาษาอังกฤษ ความถนัดทางวิศวกรรม รับรองผล เรียนเพิ่มเกรด ติวเพิ่มเกรด  o-net  ติวสอบเข้า ม.1 ติวสอบเข้า ม.4  onsite เรียนออนไซต์  กวดวิชา ติว ครูคณิต กวดวิชา ติว ครูเลข ครูวิทย์ onsite ครูฟิสิกส์ ครูอังกฤษ กวดวิชา ติว  tutor วิทย์ ติวเตอร์ อาจารย์คณิต อาจารย์เลข อาจารย์วิทย์ อาจารย์ฟิสิกส์ อาจารย์อังกฤษ onsite เรียนออนไซต์ เรียนพิเศษใกล้ฉัน  เรียนพิเศษเลขกับติวเตอร์คนไหนดี? เรียนพิเศษคณิตศาสตร์กับติวเตอร์คนไหนดี? เรียนพิเศษฟิสิกส์กับติวเตอร์คนไหนดี? เรียนพิเศษวิทย์กับติวเตอร์คนไหนดี? วิทย์ เรียนพิเศษใกล้ฉัน เรียนพิเศษภาษาอังกฤษกับติวเตอร์คนไหนดี?  เรียนพิเศษที่ไหนดี? เรียนพิเศษคณิตศาสตร์ที่ไหนดี? เรียนพิเศษเลขที่ไหนดี? เรียนพิเศษวิทยาศาสตร์ที่ไหนดี? เรียนพิเศษฟิสิกส์ที่ไหนดี? เรียนพิเศษภาษาอังกฤษที่ไหนดี?  เรียนพิเศษวิทยาศาสตร์กับติวเตอร์คนไหนดี?  ติวเตอร์ tutor โรงเรียนกวดวิชา Quota โควตา TGAT TPAT Admission วิชาสามัญ GPAX GPA TPAT3 A-level คณิตศาสตร์ประยุกต์1 A-level คณิตศาสตร์ประยุกต์2  A-level วิทยาศาสตร์ประยุกต์ ติวเตอร์  A-level ฟิสิกส์ A-level ภาษาอังกฤษ  TGAT TPAT A-level Mathematics Physics Engineering Science TCAS dek66 dek67 dek68 TCAS66 TCAS67 TCAS68 pat1 pat2 pat3 gat ครูสอนพิเศษ อาจารย์สอนพิเศษ  ติวเตอร์ tutor  โรงเรียนกวดวิชา Quota โควตา TGAT TPAT Admission วิชาสามัญ GPAX GPA TPAT3 A-level คณิตศาสตร์ประยุกต์1 A-level คณิตศาสตร์ประยุกต์2  A-level วิทยาศาสตร์ประยุกต์   ติวสอบเข้าโรงเรียนดรุณสิกขาลัย  เรียนพิเศษเข้าโรงเรียนดรุณสิกขาลัย  สอนพิเศษเข้าโรงเรียนดรุณสิกขาลัย    กวดวิชาเข้าโรงเรียนดรุณสิกขาลัย   โรงเรียนกวดวิชาเข้าโรงเรียนดรุณสิกขาลัย   ติวเตอร์เข้าโรงเรียนดรุณสิกขาลัย  ติวเข้าโรงเรียนดรุณสิกขาลัย  แนวข้อสอบเข้า ม.4 โรงเรียนดรุณสิกขาลัย     เก็งข้อสอบเข้า ม.4 โรงเรียนดรุณสิกขาลัย  t ครูสอนพิเศษ อาจารย์สอนพิเศษ  ติวเตอร์ tutor  โรงเรียนกวดวิชา Quota โควตา TGAT TPAT Admission วิชาสามัญ GPAX GPA TPAT3 A-level คณิตศาสตร์ประยุกต์1 A-level คณิตศาสตร์ประยุกต์2  A-level วิทยาศาสตร์ประยุกต์   ติวสอบเข้าโรงเรียนดรุณสิกขาลัย  เรียนพิเศษเข้าโรงเรียนดรุณสิกขาลัย  สอนพิเศษเข้าโรงเรียนดรุณสิกขาลัย    
image
 Guaranteed Results.
รับรองผลทุกคอร์ส
นักเรียนที่เรียนจบหลักสูตรจากบ้านครูตี๋  กว่า  90%  มีผลการเรียนดีขึ้น
และสามารถสอบเข้าโรงเรียนรัฐบาล  และมหาวิทยาลัยชั้นนำของรัฐได้
จากศิษย์เก่าบ้านครูตี๋กว่า 3,000 คน   ตลอดระยะเวลา 25 ปี 
image
Powered by MakeWebEasy.com
เว็บไซต์นี้มีการใช้งานคุกกี้ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพและประสบการณ์ที่ดีในการใช้งานเว็บไซต์ของท่าน ท่านสามารถอ่านรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว  และ  นโยบายคุกกี้