เรียนพิเศษเขตห้วยขวาง
 
คณิตศาสตร์      ฟิสิกส์       ภาษาอังกฤษ
แคลคูลัส
ความถนัดทางวิศวกรรมศาสตร์
O-Net    A-level    TGAT    TPAT    TPAT3    TCAS67
 

เปิดสอน   ระดับชั้นประถมศึกษา    มัธยมต้น    มัธยมปลาย
และระดับมหาวิทยาลัย

เพื่อการสอบเพิ่มเกรดประจำภาคเรียน
สอบเข้า ม.1     สอบเข้า ม.4
สอบ Admission     และสอบตรงเข้ามหาวิทยาลัย

"เน้นเรียนตัวต่อตัว    และกลุ่มย่อย 4 คน"

สำหรับนักเรียนที่มุ่งมั่นเข้าศึกษาต่อคณะวิศวกรรมศาสตร์ และคณะวิทยาศาสตร์
มหาวิทยาลัย TOP 10 ของประเทศ
 
สอนพิเศษตัวต่อตัว เรียนพิเศษตัวต่อตัว เรียนพิเศษกลุ่มย่อย สอนพิเศษกลุ่มย่อย วิชาคณิตศาสตร์ ฟิสิกส์ วิทยาศาสตร์ ภาษาอังกฤษ ความถนัดทางวิศวกรรม รับรองผล เรียนเพิ่มเกรด ติวเพิ่มเกรด  o-net  ติวสอบเข้า ม.1 ติวสอบเข้า ม.4  onsite เรียนออนไซต์  กวดวิชา ติว ครูคณิต กวดวิชา ติว ครูเลข ครูวิทย์ onsite ครูฟิสิกส์ ครูอังกฤษ กวดวิชา ติว  tutor วิทย์ ติวเตอร์ อาจารย์คณิต อาจารย์เลข อาจารย์วิทย์ อาจารย์ฟิสิกส์ อาจารย์อังกฤษ onsite เรียนออนไซต์ เรียนพิเศษใกล้ฉัน  เรียนพิเศษเลขกับติวเตอร์คนไหนดี? เรียนพิเศษคณิตศาสตร์กับติวเตอร์คนไหนดี? เรียนพิเศษฟิสิกส์กับติวเตอร์คนไหนดี? เรียนพิเศษวิทย์กับติวเตอร์คนไหนดี? วิทย์ เรียนพิเศษใกล้ฉัน เรียนพิเศษภาษาอังกฤษกับติวเตอร์คนไหนดี?  เรียนพิเศษที่ไหนดี? เรียนพิเศษคณิตศาสตร์ที่ไหนดี? เรียนพิเศษเลขที่ไหนดี? เรียนพิเศษวิทยาศาสตร์ที่ไหนดี? เรียนพิเศษฟิสิกส์ที่ไหนดี? เรียนพิเศษภาษาอังกฤษที่ไหนดี?  เรียนพิเศษวิทยาศาสตร์กับติวเตอร์คนไหนดี?  ติวเตอร์ tutor โรงเรียนกวดวิชา Quota โควตา TGAT TPAT Admission วิชาสามัญ GPAX GPA TPAT3 A-level คณิตศาสตร์ประยุกต์1 A-level คณิตศาสตร์ประยุกต์2  A-level วิทยาศาสตร์ประยุกต์ ติวเตอร์  A-level ฟิสิกส์ A-level ภาษาอังกฤษ  TGAT TPAT A-level Mathematics Physics Engineering Science TCAS dek66 dek67 dek68 TCAS66 TCAS67 TCAS68 pat1 pat2 pat3 gat ครูสอนพิเศษ อาจารย์สอนพิเศษ  ติวเตอร์ tutor  โรงเรียนกวดวิชา Quota โควตา TGAT TPAT Admission วิชาสามัญ GPAX GPA TPAT3 A-level คณิตศาสตร์ประยุกต์1 A-level คณิตศาสตร์ประยุกต์2  A-level วิทยาศาสตร์ประยุกต์
อยู่เขตห้วยขวางเรียนพิเศษกับติวเตอร์คนไหนดี เรียนพิเศษคณิตศาสตร์เขตห้วยขวาง เรียนพิเศษฟิสิกส์เขตห้วยขวาง เรียนพิเศษภาษาอังกฤษเขตห้วยขวาง หาติวเตอร์สอนคณิตศาสตร์เขตห้วยขวาง หาติวเตอร์สอนฟิสิกส์เขตห้วยขวาง  หาติวเตอร์สอนภาษาอังกฤษเขตห้วยขวาง ครูสอนคณิตศาสตร์เขตห้วยขวาง ครูสอนฟิสิกส์เขตห้วยขวาง สอนพิเศษตัวต่อตัวเขตห้วยขวาง เรียนพิเศษตัวต่อตัวเขตห้วยขวาง  ติวสอบเข้ามหาวิทยาลัยเขตห้วยขวาง เรียนวิทยาศาสตร์กับครูสอนวิทยาศาสตร์เขตห้วยขวาง ครูเลขเขตห้วยขวาง ครูวิทย์เขตห้วยขวาง ติววิทยาศาสตร์เขตห้วยขวาง ติววิทย์เขตห้วยขวาง ติวคณิตเขตห้วยขวาง ติวเลขเขตห้วยขวางหาติวเตอร์สอนพิเศษเขตห้วยขวาง  อยู่เขตห้วยขวาง โรงเรียนกวดวิชาเขตห้วยขวาง    
ห้วยขวาง เป็นหนึ่งในห้าสิบเขตของกรุงเทพมหานคร เป็นแหล่งการค้า การบริการ และแหล่งที่อยู่อาศัยหนาแน่นมาก ที่ตั้งและอาณาเขต เขตห้วยขวางตั้งอยู่ทางตอนกลางค่อนไปทางเหนือของฝั่งพระนคร มีอาณาเขตติดต่อกับพื้นที่การปกครองต่าง ๆ เรียงตามเข็มนาฬิกา ดังนี้ ทิศเหนือ ติดต่อกับเขตจตุจักรและเขตลาดพร้าว มีคลองน้ำแก้วและคลองลาดพร้าวเป็นเส้นแบ่งเขต ทิศตะวันออก ติดต่อกับเขตวังทองหลาง เขตบางกะปิ และเขตสวนหลวง มีคลองลาดพร้าวและคลองแสนแสบเป็นเส้นแบ่งเขต ทิศใต้ ติดต่อกับเขตวัฒนา มีคลองแสนแสบเป็นเส้นแบ่งเขต ทิศตะวันตก ติดต่อกับเขตราชเทวีและเขตดินแดง มีถนนอโศก-ดินแดงและถนนรัชดาภิเษกเป็นเส้นแบ่งเขต ประวัติ ศาลพระพิฆเนศที่ทางแยกห้วยขวาง เขตห้วยขวาง ได้รับการจัดตั้งขึ้นตามพระราชกฤษฎีกาในวันที่ 16 สิงหาคม พ.ศ. 2516 โดยแยกพื้นที่การปกครองมาจากเขตพญาไท 2 แขวง คือ แขวงห้วยขวางและแขวงบางกะปิ จากนั้นใน พ.ศ. 2521 ได้มีพระราชกฤษฎีกาโอนแขวงดินแดงจากเขตพญาไทและแขวงสามเสนนอกจากเขตบางกะปิมารวมกับเขตห้วยขวาง และโอนพื้นที่บางส่วนของเขตไปรวมกับเขตพญาไท เพื่อจัดขนาดพื้นที่และจำนวนประชากรของแต่ละเขตให้มีความเหมาะสม ทำให้เขตห้วยขวางมีพื้นที่ปกครอง 4 แขวง จนกระทั่งใน พ.ศ. 2536 กระทรวงมหาดไทยได้มีประกาศเปลี่ยนแปลงพื้นที่เขตห้วยขวาง โดยแยกแขวงดินแดงไปจัดตั้งเป็นเขตดินแดง การคมนาคม ถนนสายหลัก ถนนรัชดาภิเษก ถนนเพชรบุรี ถนนอโศกมนตรี ถนนประดิษฐ์มนูธรรม ถนนประชาราษฎร์บำเพ็ญ ถนนเทียมร่วมมิตร ถนนพระราม 9 ถนนเพชรอุทัย ถนนลาดพร้าว ถนนสุทธิสารวินิจฉัย ถนนประชาอุทิศ ถนนวัฒนธรรม ถนนเพชรพระราม ทางพิเศษศรีรัช ทางพิเศษฉลองรัช รถไฟฟ้า รถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคล มี 4 สถานี คือ สถานีพระราม 9 สถานีศูนย์วัฒนธรรมแห่งประเทศไทย สถานีห้วยขวาง และสถานีสุทธิสาร รถไฟฟ้าสายสีเหลือง มี 1 สถานี คือ สถานีภาวนา รถไฟฟ้าสายสีส้ม (กำลังก่อสร้าง) มี 3 สถานี คือ สถานีศูนย์วัฒนธรรมแห่งประเทศไทย สถานีรฟม. และสถานีวัดพระราม ๙ สถานที่สำคัญ โรงพยาบาลปิยะเวท กระทรวงวัฒนธรรม (วธ.) กรมส่งเสริมวัฒนธรรม กรมการศาสนา กรมโยธาธิการและผังเมือง สำนักงานศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัย ศูนย์วัฒนธรรมแห่งประเทศไทย สำนักข่าวกรมประชาสัมพันธ์ สถานีโทรทัศน์เอ็นบีทีเวิลด์ วัดพระราม ๙ กาญจนาภิเษก วัดอุทัยธาราม (บางกะปิ) การรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนแห่งประเทศไทย (รฟม.) บริษัท อสมท จำกัด (มหาชน) สถานีวิทยุ อสมท สถานีโทรทัศน์ช่อง 9 เอ็มคอตเอชดี สำนักข่าวไทย องค์การขนส่งมวลชนกรุงเทพ (ขสมก.) ธนาคารอาคารสงเคราะห์ (ธอส.) โรงละครกรุงเทพ สยามนิรมิต โรงพยาบาลพระราม 9 สถานีตำรวจนครบาลมักกะสัน เซ็นทรัล แกรนด์ พระราม 9 การทางพิเศษแห่งประเทศไทย สถานศึกษา โรงเรียนมัธยมศึกษาสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (ม.1–6) โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ รัชดา โรงเรียนจันทร์หุ่นบำเพ็ญ โรงเรียนประถมศึกษาที่เปิดสอนตั้งแต่ระดับปฐมวัย–มัธยมศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน โรงเรียนพิบูลอุปถัมภ์ โรงเรียนวัดอุทัยธาราม โรงเรียนสังกัดสำนักการศึกษากรุงเทพมหานคร โรงเรียนประชาราษฎร์บำเพ็ญ โรงเรียนพระราม ๙ กาญจนาภิเษก โรงเรียนวัดใหม่ช่องลม โรงเรียนสังกัดสำนักบริหารงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน (สช.) โรงเรียนอนุบาลสองภาษาบ้านต้นไม้ โรงเรียนสมาคมไทย-ญี่ปุ่น โรงเรียนนานาชาติคิซอินเตอร์เนชั่นแนล  โรงเรียนชาญวิทย์ โรงเรียนดลวิทยา โรงเรียนสมฤทัย โรงเรียนสิริเทพ โรงเรียนอนุบาลโชคชัย โรงเรียนอนุบาลทรงวิทย์ โรงเรียนอนุบาลวัฒนานิเวศน์ โรงเรียนอนุบาลสีชมพูมอนเทสเซอริ โรงเรียนอันวารุ้ลอิสลาม โรงเรียนอนุบาลนานาชาติเพรพ โรงเรียนอนุบาลบุณยรักษ์ ห้วยขวาง เป็นแขวงหนึ่งในพื้นที่เขตห้วยขวาง กรุงเทพมหานคร เป็นที่ตั้งของเดอะแกรนด์ พระราม 9 ศูนย์การค้าขนาดใหญ่ใจกลางแขวง มีถนนสำคัญในย่านนี้ คือ ถนนรัชดาภิเษก ปัจจุบันแขวงเป็นที่ตั้งของศูนย์ซ่อมบำรุงสถานีศูนย์วัฒนธรรมแห่งประเทศไทยสายสีส้ม ซึ่งเป็นโครงการในอนาคต ที่ตั้งและอาณาเขต แขวงห้วยขวางตั้งอยู่ทางทิศตะวันตกของเขตห้วยขวาง มีอาณาเขตติดต่อกับแขวงข้างเคียงเรียงตามเข็มนาฬิกาดังนี้ ทิศเหนือ ติดต่อกับแขวงสามเสนนอก (เขตห้วยขวาง) มีถนนสุทธิสารวินิจฉัยเป็นเส้นแบ่งเขต ทิศตะวันออก ติดต่อกับแขวงสามเสนนอก (เขตห้วยขวาง) มีคลองชวดบางจาก (ปั้นจาด), ถนนประชาอุทิศ, ถนนเทียมร่วมมิตร, แนวแบ่งเขตการปกครองระหว่างแขวงห้วยขวางกับแขวงสามเสนนอก และซอยพระราม 9 ซอย 13 (ศูนย์วิจัย 4) เป็นเส้นแบ่งเขต ทิศใต้ ติดต่อกับแขวงบางกะปิ (เขตห้วยขวาง) มีคลองชวดใหญ่ (ลำรางยมราช) และคลองสามเสนเป็นเส้นแบ่งเขต ทิศตะวันตก
 ติดต่อกับแขวงดินแดงและแขวงรัชดาภิเษก (เขตดินแดง) มีถนนอโศก-ดินแดงและถนนรัชดาภิเษกเป็นเส้นแบ่งเขต บางกะปิ เป็นแขวงหนึ่งในพื้นที่เขตห้วยขวาง กรุงเทพมหานคร  ที่ตั้งและอาณาเขต แขวงบางกะปิตั้งอยู่ทางทิศใต้ของเขตห้วยขวาง มีอาณาเขตติดต่อกับแขวงข้างเคียงเรียงตามเข็มนาฬิกาดังนี้ ทิศเหนือ ติดต่อกับแขวงห้วยขวางและแขวงสามเสนนอก (เขตห้วยขวาง) มีคลองสามเสนและคลองชวดใหญ่ (ลำรางยมราช) เป็นเส้นแบ่งเขต ทิศตะวันออก ติดต่อกับแขวงวังทองหลาง แขวงพลับพลา (เขตวังทองหลาง) แขวงหัวหมาก (เขตบางกะปิ) และแขวงสวนหลวง (เขตสวนหลวง) มีคลองลาดพร้าวและคลองแสนแสบเป็นเส้นแบ่งเขต ทิศใต้ ติดต่อกับแขวงคลองตันเหนือและแขวงคลองเตยเหนือ (เขตวัฒนา) มีคลองแสนแสบเป็นเส้นแบ่งเขต ทิศตะวันตก ติดต่อกับแขวงมักกะสัน (เขตราชเทวี) มีถนนอโศก-ดินแดงเป็นเส้นแบ่งเขต
สามเสนนอก เป็นแขวงหนึ่งในพื้นที่เขตห้วยขวาง กรุงเทพมหานคร เป็นแขวงที่มีขนาดใหญ่ที่สุดของเขตห้วยขวาง สภาพโดยทั่วไปของแขวงเป็นแหล่งที่อยู่อาศัยหนาแน่นน้อยและหนาแน่นปานกลาง และเป็นที่ตั้งของสถานีภาวนา รถไฟฟ้าสายสีเหลือง ที่ตั้งและอาณาเขต แขวงสามเสนนอกตั้งอยู่ทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือของเขตห้วยขวาง มีอาณาเขตติดต่อกับแขวงข้างเคียงเรียงตามเข็มนาฬิกาดังนี้
ทิศเหนือ ติดต่อกับแขวงจันทรเกษม (เขตจตุจักร) และแขวงลาดพร้าว (เขตลาดพร้าว) มีคลองน้ำแก้วและคลองลาดพร้าวเป็นเส้นแบ่งเขต ทิศตะวันออก ติดต่อกับแขวงสะพานสองและแขวงวังทองหลาง (เขตวังทองหลาง) มีคลองลาดพร้าวเป็นเส้นแบ่งเขต ทิศใต้ ติดต่อกับแขวงบางกะปิ (เขตห้วยขวาง) มีคลองชวดใหญ่ (ลำรางยมราช) เป็นเส้นแบ่งเขต ทิศตะวันตก ติดต่อกับแขวงห้วยขวาง (เขตห้วยขวาง) และแขวงรัชดาภิเษก (เขตดินแดง) มีซอยพระราม 9 ซอย 13 (ศูนย์วิจัย 4), แนวแบ่งเขตการปกครองระหว่างแขวงห้วยขวางกับแขวงสามเสนนอก, ถนนเทียมร่วมมิตร, ถนนประชาอุทิศ, คลองชวดบางจาก (ปั้นจาด), ถนนสุทธิสารวินิจฉัย และถนนรัชดาภิเษกเป็นเส้นแบ่งเขต 
โรงเรียนกวดวิชาเขตห้วยขวาง สอนพิเศษคณิตศาสตร์เขตห้วยขวาง สอนพิเศษวิทยาศาสตร์เขตห้วยขวาง สอนพิเศษภาษาอังกฤษเขตห้วยขวาง สอนพิเศษฟิสิกส์เขตห้วยขวาง เรียนพิเศษคณิตศาสตร์ห้วยขวาง เรียนพิเศษวิทยาศาสตร์เขตห้วยขวาง เรียนพิเศษภาษาอังกฤษเขตห้วยขวาง เรียนพิเศษฟิสิกส์เขตห้วยขวาง
ถนนเพชรบุรี (อักษรโรมัน: Thanon Phetchaburi) เป็นเส้นทางจราจรสำคัญสายหนึ่งในกรุงเทพมหานคร ถนนเพชรบุรีมีระยะทางประมาณ 9 กิโลเมตรเศษ เริ่มจากบริเวณถนนพิษณุโลกตัดกับถนนสวรรคโลกและถนนหลานหลวงที่ทางแยกยมราชในพื้นที่เขตดุสิต ไปทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ ตัดผ่านทางรถไฟสายเหนือเข้าพื้นที่เขตราชเทวี ตัดกับถนนพระรามที่ 6 และผ่านใต้ทางพิเศษศรีรัชที่ทางแยกอุรุพงษ์ ตัดกับถนนบรรทัดทองที่ทางแยกเพชรพระราม ตัดกับถนนพญาไทที่ทางแยกราชเทวี ตัดกับถนนราชปรารภและถนนราชดำริที่ทางแยกประตูน้ำ ซึ่งเดิมถนนเพชรบุรีจะสิ้นสุดแค่ช่วงนี้ ก่อนจะมีการเวนคืนและก่อสร้างถนนตัดใหม่ต่อไปในภายหลัง โดยมุ่งไปทางทิศตะวันออก ตัดกับซอยชิดลมที่ทางแยกชิดลม-เพชรบุรี ตัดกับกับถนนวิทยุที่ทางแยกวิทยุ-เพชรบุรี ผ่านใต้ทางพิเศษเฉลิมมหานคร ตัดกับถนนนิคมมักกะสันและซอยสุขุมวิท 3 (นานาเหนือ) ที่ทางแยกมิตรสัมพันธ์ ตัดกับถนนอโศก-ดินแดงและถนนอโศกมนตรีที่ทางแยกอโศก-เพชรบุรีและเข้าพื้นที่เขตห้วยขวาง ข้ามคลองบางกะปิ ตัดกับซอยเพชรบุรี 38/1 ที่ทางแยกพร้อมพงษ์ ตัดกับซอยสุขุมวิท 63 (เอกมัย) ที่ทางแยกเอกมัยเหนือ ข้ามคลองแสนแสบเข้าพื้นที่เขตสวนหลวง ก่อนไปสิ้นสุดที่สี่แยกคลองตัน ตัดกับถนนรามคำแหง และถนนสุขุมวิท 71 (ปรีดี พนมยงค์) โดยมีถนนที่ตรงต่อเนื่องต่อไปคือถนนพัฒนาการ ถนนเพชรบุรีช่วงตั้งแต่ทางแยกยมราชถึงทางแยกประตูน้ำเป็นถนนที่พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวโปรดเกล้าฯ ให้กรมสุขาภิบาลตัดขึ้นตั้งแต่ริมคลองขื่อหน้า ปลายถนนคอเสื้อ (ปัจจุบันคือถนนพิษณุโลก) ไปบรรจบถนนราชดำริ เริ่มก่อสร้างในเดือนกรกฎาคม พ.ศ. 2448 โดยได้พระราชทานพระบรมราชานุญาตให้ยืมเงินพระคลังข้างที่มาทดลองทำการ ระหว่างดำเนินการตัดถนน เกิดปัญหาแนวถนนตัดผ่านหมู่บ้านของคนในบังคับต่างประเทศ 2-3 แห่ง จึงต้องเจรจากันเรื่องค่าที่ดิน รัฐบาลได้มอบหมายให้นายเอ็ดเวิร์ด สโตรเบล ที่ปรึกษาราชการชาวอเมริกัน เป็นผู้ดำเนินการเจรจา เมื่อสร้างเสร็จแล้ว ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานชื่อถนนว่า ถนนประแจจีน ซึ่งเป็นชื่อลวดลายของเครื่องลายครามแบบจีนชนิดหนึ่ง ต่อมาในวันที่ 16 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2462 พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้เปลี่ยนชื่อถนนประแจจีนเป็น ถนนเพชรบุรี ตามพระนามทรงกรมของสมเด็จพระราชปิตุจฉา เจ้าฟ้าวไลยอลงกรณ์ กรมหลวงเพชรบุรีราชสิรินธร ปี พ.ศ. 2505 ทางการได้เวนคืนตลาดเฉลิมลาภเก่าบริเวณสามแยกประตูน้ำ (ปัจจุบันคือสี่แยกประตูน้ำ) โดยตัดถนนต่อออกจากสามแยกประตูน้ำไปจรดซอยสุขุมวิท 71 โดยได้เปิดอย่างเป็นทางการเมื่อปี พ.ศ. 2506 คนทั่วไปนิยมเรียกถนนเพชรบุรีช่วงนี้ว่า "ถนนเพชรบุรีตัดใหม่" โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ รัชดา เป็นโรงเรียนรัฐบาลประเภทโรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดใหญ่พิเศษ ในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 2 (กรุงเทพมหานคร) ตั้งอยู่ที่เลขที่ 170 ถนนรัชดาภิเษก แขวงห้วยขวาง เขตห้วยขวาง กรุงเทพมหานคร เปิดสอนในระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น ถึง ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย แบบสหศึกษา เป็นหนึ่งใน 281 โรงเรียนมัธยมศึกษาที่สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน จัดให้เป็นโรงเรียนที่มีอัตราการแข่งขันสูง และเป็นหนึ่งใน 40 โรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดใหญ่พิเศษ ในเขตพื้นที่กรุงเทพมหานคร โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ รัชดา เดิมคือ โรงเรียนประชาราษฎร์อุปถัมภ์ ซึ่งเคยเป็นโรงเรียนระดับประถมศึกษาสังกัดจังหวัดพระนคร รับนักเรียนชั้นประถมศึกษามาโดยตลอด และได้พัฒนามาเป็นลำดับ วันที่ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2516 ได้โอนไปสังกัดกองการประถมศึกษา กรมสามัญศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ วันที่ 30 เมษายน พ.ศ. 2521 ได้โอนไปสังกัดกองการมัธยมศึกษา กรมสามัญศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ  ปี พ.ศ. 2527 เป็นปีแห่งการพัฒนาของโรงเรียนในหลาย ๆ ด้าน ทั้งด้านอาคารสถานที่ ด้านระเบียบวินัยของโรงเรียน ด้านงานวิชาการ ระบบระเบียบวินัยของข้าราชครู และด้านสภาพแวดล้อมภายในโรงเรียน จนทำให้โรงเรียนได้รับรางวัลโรงเรียนพระราชทานกระทรวงศึกษาธิการ จนะวสิด ผู้อำนวยการโรงเรียนในขณะนั้น ตราสัญลักษณ์ประจำโรงเรียน พระเกี้ยว หรือ จุลมงกุฎ เป็นศิราภรณ์ประดับพระเกศา หรือพระเศียรของพระราชโอรสและพระราชธิดาของพระมหากษัตริย์ และเป็นพิจิตรเรขา (สัญลักษณ์) ประจำรัชกาลของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทั้งนี้เพราะ พระนามาภิไธยของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว คือ "จุฬาลงกรณ์" ซึ่งแปลว่า เครื่องประดับศีรษะ หรือ จุลมงกุฎ ซึ่งมีความหมายเชื่อมโยงกับพระนามาภิไธยของพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว คือ "มงกุฎ" อีกทั้ง พระปรมาภิไธยในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ยังมีหมายความว่า "พระจอมเกล้าน้อย" อีกด้วย เมื่อพระนามาภิไธยเดิมและพระปรมาภิไธยเดิมของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว มีความหมายว่าพระเกี้ยว หรือจุลมงกุฎ จึงได้ใช้พระเกี้ยวหรือจุลมงกุฎวางบนเบาะ เป็นพิจิตรเรขาประจำรัชกาลของพระองค์

image
 Guaranteed Results.
รับรองผลทุกคอร์ส
นักเรียนที่เรียนจบหลักสูตรจากบ้านครูตี๋  กว่า  90%  มีผลการเรียนดีขึ้น
และสามารถสอบเข้าโรงเรียนรัฐบาล  และมหาวิทยาลัยชั้นนำของรัฐได้
จากศิษย์เก่าบ้านครูตี๋กว่า 3,000 คน   ตลอดระยะเวลา 25 ปี 
image
Powered by MakeWebEasy.com
เว็บไซต์นี้มีการใช้งานคุกกี้ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพและประสบการณ์ที่ดีในการใช้งานเว็บไซต์ของท่าน ท่านสามารถอ่านรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว  และ  นโยบายคุกกี้